ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บัวเผื่อน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thaibiodiversity (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการแก้ไขของ Thaibiodiversity (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย PAHs
บรรทัด 1:
{{ตารางจำแนกพันธุ์
| color = lightgreen
| name = <big>บัวเผื่อน</big>
| name = บัวบก
| image = บัวบก_bedoNymphaea stellata, Myanmar.jpg
| image_width = 240px
| image_caption = บัวบก
| image_caption = บัวเผื่อน
| regnum = [[Plantae]]
| familiaregnum = [[APIACEAEPlant]]ae
| genusunranked_divisio = ''[[CentellaAngiosperms]]''
|ordo = [[Nymphaeales]]
| species = ''asiatica''
|familia = [[Nymphaeaceae]]
| binomial = Centella
|genus = ''[[Nymphaea]]''
| binomial_authority = Urb
| species = ''asiatica'''N. nouchali'''''
}}
|binomial = ''Nymphaea nouchali''
| binomial_authority = Urb[[Burm. f.]]
|synonyms = :''Castalia acutiloba'' (DC.) Hand.-Mazz.
:''Castalia stellaris'' Salisb.
Nymphaea:''Castalia stellata'' (Willd.) Blume
:''Leuconymphaea stellata'' (Willd.) Kuntze
:''Nymphaea acutiloba'' DC.
:''Nymphaea cahlara'' Donn, [[nom. inval.]]
:''Nymphaea cyanea'' Roxb.
:''Nymphaea edgeworthii'' Lehm.
:''Nymphaea henkeliana'' Rehnelt
:''Nymphaea hookeriana'' Lehm.
:''Nymphaea malabarica'' Poir.
:''Nymphaea membranacea'' Wall. ex Casp., [[nom. inval.]]
:''Nymphaea minima'' F.M.Bailey [[nom. illeg.]]
:''Nymphaea punctata'' Edgew.
:''Nymphaea rhodantha'' Lehm.
:''Nymphaea stellata Willd.
:''Nymphaea stellata'' var. ''albiflora'' F. Henkel & al.
:''Nymphaea stellata'' var. ''cyanea'' (Roxb.) Hook. f. & Thomson
:''Nymphaea stellata'' var. ''parviflora'' Hook. f. & Thomson
:''Nymphaea stellata'' var. ''versicolor'' (Sims) Hook. f. & Thomson
:''Nymphaea tetragona'' var. ''acutiloba'' (DC.) F. Henkel & al.
:''Nymphaea versicolor Sims
:''Nymphaea voalefoka'' Lat.-Marl. ex W. Watson, [[nom. nud.]]
|}}
'''บัวเผื่อน''' เป็นพันธุ์ไม้น้ำคล้ายบัวสาย อายุหลายปี มีเหง้าและไหลอยู่ใต้ดิน และส่งใบดอกขึ้นมาบนผิวน้ำ บัวเผื่อนมีดอกให้ชมเกือบตลอดทั้งปี เริ่มบานตอนสายและหุบตอนบ่าย ออกดอกตลอดปี บัวเผื่อนมีชื่อพื้นเมืองอื่นว่า นิโรบล(กรุงเทพ) บัวผัน บัวขาบ (ภาคกลาง) ป้านสังก่อน (เชียงใหม่) และปาลีโป๊ะ (มลายู นราธิวาส)<ref name="สำนักงานหอพรรณไม้">เต็ม สมิตินันทน์ [http://web3.dnp.go.th/botany/ThaiPlantName/Default.aspx ''ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย''] สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, พ.ศ. 2549</ref>
 
==ลักษณะทางพฤกษศาสตร์==
==ชื่อสามัญ ==
ใบเป็นใบเดียวออกแบบเรียงสลับเป็นกลุ่ม แผ่นใบลอยบนผิวน้ำ ใบรูปไข่กว้าง ยาวประมาณ 10-25 ซม. กว้าง 8-18 ซม. ผิวใบเกลี้ยงหน้าใบสีเขียว ท้องใบสีเขียวอ่อนถึงสีม่วงจาง ปลายใบทู่ถึงกลมมน โคนใบเว้าลึก ฃอบใบเรียงถึงหยักตื้นๆ เส้นใบ 10-15 เส้น แยกจากจุดเชื่อมกับก้านใบ ก้านใบสั้นยาวไม่แน่นอน ขึ้นอยู่กับความลึกของน้ำ ปกติยาว 0.5-2 เมตร
บัวเผื่อน
 
ดอกเป็นดอกเดี่ยว อยู่เหนือน้ำ มีสีขาวแกมชมพู ถึงอ่อนคราม กลิ่นหอมอ่อนๆ หากมีสีขาวแกมชมพูจะเรียกว่า “บัวเผื่อน” ส่วนดอกสีครามอ่อนและมีขนาดใหญ่เรียกว่า “บัวผัน” บางครั้งนักวิทยาศาสตร์แยกเป็น 2 ชนิด บางครั้งว่าเป็นชนิดเดียวกันแต่มี 2 พันธุ์ แต่ละดอกมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 6-18 กลีบ มีเกสรตัวผู้สีเหลืองเป็นจำนวนมาก รังไข่มี 10-20 ช่อง ฝังตัวแน่นอยู่ใต้แผ่นรองรับเกสรตัวเมียรูปถ้วย ก้านดอกคล้ายก้านใบ และยาวไล่เลียกัน ผลจมอยู่ใต้น้ำหลังจากผสมเกสรแล้ว
==รูปร่าง/ลักษณะ==
บัวพันธุ์พื้นเมืองของไทยมีที่ต้นและดอกเล็ก อายุหลายปี ลำต้น เป็นเหง้าในดิน ใบ เดี่ยวแตกจากเหง้าส่งใบเจริญที่ผิวน้ำ รูปไข่ ยาว 10 – 25 ซม. กว้าง 8 – 18 ซม. ขอบใบเรียบ ปลายใบกลมมน ใบอ่อนด้านบนสีเขียว ด้านล่างสีน้ำตาลอ่อนเหลือบเขียว มีจุดสีน้ำตาลแดงประปราย ก้านใบและก้านดอกสีเขียวเหลือบน้ำตาลอ่อน ไม่มีขน ดอก เดี่ยว อยู่เหนือน้ำ ขนาดผ่านศูนย์กลาง 8 – 10 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ด้านนอกสีเขียว ด้านในสีขาวอมชมพู กลีบดอกซ้อนประมาณ 20 กลีบ เรียวยาว ปลายแหลม บาน 3 วัน บานวันแรกสีขาว แล้วค่อย ๆ มีสีเหลือบชมพูอ่อนที่ปลายกลีบ และต่อมาเปลี่ยนเป็นสีเหลือบคราม เกสรเพศเมียและก้านชูเกสรผู้สีเหลือง อับเกสรผู้สีขาว ไม่มีกลิ่นหอม ผล เดี่ยวแบบผลสด จมอยู่ใต้น้ำ หลังจากการผสมแล้ว เรียกว่า “โตนด”
 
==การปลูกเลี้ยง==
==แหล่งที่พบ==
บัวเผื่อนพบขึ้นตามหนอง บึง ริมแม่น้ำที่มีกระแสน้ำอ่อนและขอบพรุ มีเขตการกระจายพันธุ์อยู่ทั่วทุกภาคของประเทศไทย ขยายพันธุ์โดยการใช้หน่อหรือเหง้า
พบในน้ำตื้นทางภาคกลางและภาคใต้ของไทย ประโยชน์เป็นไม้ประดับ เหง้าใช้เป็นยาสมุนไพร
 
==ประโยชน์ทางยา==
==ชื่อวิทยาศาสตร์==
*[[ดอก]] รสฝาดหอมเย็น บำรุงหัวใจให้แช่มชื่น บำรุงกำลัง แก้ไขตัวร้อน บำรุงครรภ์
Nymphaea stellata Willd.
*[[เมล็ด]] เมื่อฝักแก่ดอกร่วงหมดแล้วเรียกว่า”โตนดบัว” มีเมล็ดเล็กๆ คล้ายเมล็ดฝิ่น คั่วรับประทานเป็นอาหารได้ รสหอมมัน บำรุงร่างกาย บำรุงกำลัง
*[[หัว]] ลักษณะเป็นหัวตะปุ่มตะป่ำ เหมือนโกฐหัวบัว รสหอมมัน เผ็ดเล็กน้อย บำรุงร่างกาย ชูกำลัง บำรุงครรภ์รักษา บำรุงหัวใจ บำรุงธาตุ
ในตำรายาไทย บัวเผื่อนอยู่ในพิกัดบัวพิเศษ มี 6 อย่างคือ [[บัวหลวง]]แดง บัวหลวงขาว [[บัวสัตตบงกช]]แดง บัวสัตตบงกชขาว บัวเผื่อน และ[[บัวขม]] ใช้แก้ไข้ แก้ลม เสมหะ และโลหิต บำรุงกำลัง บำรุงหัวใจ ทำให้แช่มชื่น แก้ร้อนในกระหายน้ำ แก้ไข้ตัวร้อน บำรุงครรภ์ นอกจากนั้น ในบัญชียาหลักแห่งชาติ ในตำรับยาหอมเทพจิตร มีดอกบัวเผื่อนเป็นส่วนผสมร่วมกับสมุนไพรอื่นๆอีกหลายชนิดในตำรับ มีสรรพคุณแก้ลมกองละเอียด ได้แก่ อาการหน้ามืด ตาลาย สวิงสวาย ใจสั่น และบำรุงดวงจิตให้ชุ่มชื่น <ref>[http://www.thaicrudedrug.com/main.php?action=viewpage&pid=78 บัวเผื่อน-ฐานข้อมูลเครื่องยา]</ref>
 
==อ้างอิง==
==วงศ์ ==
{{รายการอ้างอิง}}
NYMPHAEACEAE
* สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. สมุนไพรกับวัฒนธรรมไทย ตอนที่3 พรรณไม้หอม. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก,มปป.
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
==สกุล==
Nymphaea
 
*http://pineapple-eyes.snru.ac.th/animal/nonghan/index.php?q=node/152
==ชนิด==
stellata
 
[[หมวดหมู่:วงศ์บัวสาย]]
==คุณสมบัติ/ลักษณะของตัวอย่าง==
[[หมวดหมู่:สมุนไพร]]
บัวพันธุ์พื้นเมืองของไทยมีที่ต้นและดอกเล็ก อายุหลายปี ลำต้น เป็นเหง้าในดิน ใบ เดี่ยวแตกจากเหง้าส่งใบเจริญที่ผิวน้ำ รูปไข่ ยาว 10 – 25 ซม. กว้าง 8 – 18 ซม. ขอบใบเรียบ ปลายใบกลมมน ใบอ่อนด้านบนสีเขียว ด้านล่างสีน้ำตาลอ่อนเหลือบเขียว มีจุดสีน้ำตาลแดงประปราย ก้านใบและก้านดอกสีเขียวเหลือบน้ำตาลอ่อน ไม่มีขน ดอก เดี่ยว อยู่เหนือน้ำ ขนาดผ่านศูนย์กลาง 8 – 10 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ด้านนอกสีเขียว ด้านในสีขาวอมชมพู กลีบดอกซ้อนประมาณ 20 กลีบ เรียวยาว ปลายแหลม บาน 3 วัน บานวันแรกสีขาว แล้วค่อย ๆ มีสีเหลือบชมพูอ่อนที่ปลายกลีบ และต่อมาเปลี่ยนเป็นสีเหลือบคราม เกสรเพศเมียและก้านชูเกสรผู้สีเหลือง อับเกสรผู้สีขาว ไม่มีกลิ่นหอม ผล เดี่ยวแบบผลสด จมอยู่ใต้น้ำ หลังจากการผสมแล้ว เรียกว่า “โตนด”
{{โครงพืช}}
 
==ข้อมูลสถานที่และรายละเอียดสภาพแวดล้อม==
พบในน้ำตื้นทางภาคกลางและภาคใต้ของไทย ประโยชน์เป็นไม้ประดับ เหง้าใช้เป็นยาสมุนไพร
 
 
== แหล่งที่มา ==
หน่วยงาน : องค์การสวนพฤกษศาสตร์
 
http://www.thaibiodiversity.org/Life/LifeDetail.aspx?LifeID=51