ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยี่หร่าฝรั่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thaibiodiversity (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการแก้ไขของ Thaibiodiversity (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย KuroiSchwert
บรรทัด 1:
{{ระวังสับสน|ผักชีฝรั่ง|ผักชีลาว}}
{{ตารางจำแนกพันธุ์
{{Taxobox
| color = lightgreen
| name = ผักชีล้อม
| image = ผักชีล้อม_bedoFoeniculum vulgare.jpgJPG
| image_width = 200px
| image_caption = ต้นผักชีล้อมกำลังออกดอก
| regnum = [[Plantae]]
| familiadivisio = [[APIACEAE (UMBELLIFERAE)Magnoliophyta]]
| genusclassis = ''[[OenantheMagnoliopsida]]''
| ordo = [[Apiales]]
| species = ''javanica ''
| familia = [[Apiaceae]] (or [[Umbelliferae]])
| binomial = Oenanthe javanica
| genus = ''[[Foeniculum]]''
| binomial_authority = (Bl.) DC.
| species = ''javanica'''F. vulgare'''''
| binomial = ''Foeniculum vulgare''
| binomial_authority = (Bl.)[[Philip DCMiller|Mill.]]
}}
'''ผักชีล้อม''' (ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Foeniculum vulgare'' Mill.) เป็น[[เครื่องเทศ]]ที่มีลักษณะใบเป็นฝอย นิยมใช้แพร่หลายมาช้านาน ปัจจุบันเป็นที่รู้จักกันทั่วโลก กล่าวกันว่าเดิมนั้นเป็นพืชประจำท้องถิ่นของแถบ[[เมดิเตอร์เรเนียน]] นับเป็นพืชที่ให้น้ำมันระเหย ซึ่งมีกล่าวไว้ในนิทานปรัมปราของกรีก และนิทานพื้นบ้านของอิตาลีด้วย
 
ในช่วงขณะหนึ่งที่ยังเรียกกันอย่างสับสนนั้น เรียกผักชีล้อมว่า [[ยี่หร่า]]บ้าง [[ผักชีฝรั่ง]]บ้าง เพื่อความเป็นกลาง [[กรมวิชาการเกษตร]] จึงประกาศไว้ใน บัญชีแนบท้ายประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง ทะเบียนพันธุ์พืชในประเทศไทย กำหนดให้เรียกเครื่องเทศชนิดนี้ ว่า '''ผักชีล้อม''' เป็นชื่ออย่างเป็นทางการในภาษาไทย <ref>[http://www.dnp.go.th/botany/ThaiPlantName/ ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันทน์]</ref> อันหมายถึง fennel ใน[[ภาษาอังกฤษ]] ส่วนชื่อในท้องถิ่นอื่นของไทยเรียกว่า ''เทียนแกลบ'' ''ผักชีเดือนห้า'' หรือเรียกแค่ ''ผักชี'' ก็มี
==ชื่อสามัญ ==
ผักชีล้อม, Chinese celerry, Water dropwort
 
ในภาษาอังกฤษเรียกว่า fennel มีรากศัพท์มาจาก[[ภาษาละติน]]ว่า fenum อันเป็นคำศัพท์ที่ใช้บรรยายกลิ่นที่หอมหวาน เล่ามาว่าสตรีชาว[[โรมัน]]นิยมรับประทานผักชีล้อมเพื่อลดความอ้วน ปัจจุบันมีการใช้ผักชีล้อมมากมายในตำรับอาหาร ซึ่งมีส่วนช่วยให้อาหารที่มีมันมากไม่เลี่ยน และย่อยได้ง่าย
==ชื่อท้องถิ่น==
ดอกผักชีล้อม, ต้นผักชีล้อม, ใบผักชีล้อม, ผลผักชีล้อม, รากผักชีล้อม, ผักอันอ้อ, จีอ้อ ผักอัน ผักอันอ้น
 
เชื่อกันว่าผักชีล้อมนั้นช่วยเสริมความแข็งแกร่งและความกล้าหาญ และยังทำให้มีชีวิตยืนยาวด้วย เชื่อกันว่างูนั้นกินผักชีล้อมเพื่อช่วยให้ลอกคราบ ในสมัยกลางนั้น มีการห้อยผักชีล้อมไว้เหนือประตูเพื่อขจัดวิญญาณชั่วร้าย ดอกผักชีล้อมนั้นสีเหลืองสด เป็นพืชปรุงรสที่สำคัญอย่างหนึ่ง มีกลิ่นฉุนรสร้อนแรง ใช้ปรุงอาหารหลายชนิด เชื่อว่ายังช่วยรักษาโรคตา และรักษาสายตาด้วย
==รูปร่าง/ลักษณะ==
พืชล้มลุกโผล่เหนือน้ำหรือทอดเลื้อยตามผิวดิน สูง 10 – 100 ซม. ต้นกลวงผิวภายนอกเป็นร่อง ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก 1 – 3 ชั้น ใบย่อยรูปรีแคบหรือรูปไข่ กว้าง 0.2 – 3.5 ซม. ยาว 0.8 – 6 ซม. โคนใบเบี้ยว ปลายแหลม ขอบใบจักฟันเลื่อย ดอก ขนาดเล็กสีขาวออกเป็นช่อซี่ร่ม ดอกย่อยขนาดเล็ก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เกสรเพศผู้ 5 อัน ผล เดี่ยวแบบ ผลแห้งแก่แล้วแตกเป็นสองส่วน รูปค่อนข้างกลมเป็นสัน ขนาด 2 – 3 ซม. และมีก้านเกสรเพศเมียที่ไม่หลุดร่วง ยาว 1 – 3 มม.
 
== อ้างอิง ==
==แหล่งที่พบ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Foeniculum vulgare}}
จากอินเดียถึงจีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และญี่ปุ่น รวมทั้ง นิว กินี และควีนส์แลนด์ พบตามพื้นที่ชื้นแฉะหรือริมน้ำที่ระดับความสูง 600 – 1,700 เมตร
{{รายการอ้างอิง}}
* บัญชีแนบท้ายประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง ทะเบียนพันธุ์พืชในประเทศไทย
 
{{สมุนไพรและเครื่องเทศ|state=expanded}}
==ชื่อวิทยาศาสตร์==
{{โครงพืช}}
Oenanthe javanica (Bl.) DC.
 
[[หมวดหมู่:ผัก]]
==วงศ์ ==
[[หมวดหมู่:เครื่องเทศ]]
APIACEAE (UMBELLIFERAE)
[[หมวดหมู่:วงศ์ผักชี]]
 
==สกุล==
Oenanthe
 
==ชนิด ==
javanica
 
==คุณสมบัติ/ลักษณะของตัวอย่าง==
พืชล้มลุกโผล่เหนือน้ำหรือทอดเลื้อยตามผิวดิน สูง 10 – 100 ซม. ต้นกลวงผิวภายนอกเป็นร่อง ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก 1 – 3 ชั้น ใบย่อยรูปรีแคบหรือรูปไข่ กว้าง 0.2 – 3.5 ซม. ยาว 0.8 – 6 ซม. โคนใบเบี้ยว ปลายแหลม ขอบใบจักฟันเลื่อย ดอก ขนาดเล็กสีขาวออกเป็นช่อซี่ร่ม ดอกย่อยขนาดเล็ก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เกสรเพศผู้ 5 อัน ผล เดี่ยวแบบ ผลแห้งแก่แล้วแตกเป็นสองส่วน รูปค่อนข้างกลมเป็นสัน ขนาด 2 – 3 ซม. และมีก้านเกสรเพศเมียที่ไม่หลุดร่วง ยาว 1 – 3 มม.
ข้อมูลสถานที่และรายละเอียดสภาพแวดล้อม : จากอินเดียถึงจีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และญี่ปุ่น รวมทั้ง นิว กินี และควีนส์แลนด์ พบตามพื้นที่ชื้นแฉะหรือริมน้ำที่ระดับความสูง 600 – 1,700 เมตร
 
==ภูมิปัญญาท้องถิ่น(ใช่/ไม่ใช่)==
ไม่
 
==รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์==
ผล รับประทานเป็นยาขับลมในลำไส้ โดยมากลูกผักชีล้อม มักใช้ผสมรวมกับลูกผักชีลา ผสมเป็นยาธาตุ ขับลมทั้งต้น มักใช้รวมกันกับ ผักบุ้งรวม ต้มเอาควันรม คนเข้ากระโจม แก้บวมทั้งตัว แก้เหน็บชา ขับเหงื่อ แก้น้ำเหลืองเสีย แก้คลื่นเหียนอาเจียน แก้ธาตุพิการ แก้หอบหืด บำรุงปอด แก้ไอ
 
 
== แหล่งที่มา ==
หน่วยงาน : สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
 
หน่วยงาน : องค์การสวนพฤกษศาสตร์
 
http://www.thaibiodiversity.org/Life/LifeDetail.aspx?LifeID=54