ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปราสาทพระวิหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
13a13oo (คุย | ส่วนร่วม)
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
| Link = http://whc.unesco.org/en/list/1224
}}
'''ปราสาทพระวิหาร''' ({{lang-km|ប្រាសាទ​ព្រះវិហារប្រាសាទព្រះវិហារ}}; ''เปรี๊ยะ วิเฮียร์'' - วิหารศักดิ์สิทธิ์; {{lang-en|Temple of Preah Vihear}}<ref>[http://whc.unesco.org/en/list/1224 ชื่ออย่างเป็นทางการโดยยูเนสโก]</ref>) เป็น[[ปราสาทหิน]]ตามแบบ[[ศาสนาฮินดู]]ที่ตั้งอยู่บริเวณ[[เทือกเขาพนมดงรัก]] (ภาษาเขมรว่า พนมดงเร็ก หมายถึง ภูเขาไม้คาน<ref name="oceansmile">[http://www.oceansmile.com/E/Srisaket/Khoapravihan.htm ข้อมูลท่องเที่ยวและรูป ปราสาทพระวิหาร]</ref>) สูงจากระดับทะเลปานกลาง 657 เมตร ที่ตั้งของศาสนสถานแห่งนี้รู้จักกันในนาม พนมพระวิหาร หมายถึง บรรพตแห่งศาสนสถานอันศักดิ์สิทธิ์<ref name="pattayadailynews">[http://www.pattayadailynews.com/thai/showfeature.php?FeatureID=0000000835 เปิดตำนาน ปราสาทพระวิหาร บนเทือกเขาพนมดงเร็ก]</ref> อยู่ใกล้[[อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร]] [[อำเภอกันทรลักษ์]] [[จังหวัดศรีสะเกษ]] ซึ่งเคยเป็นทางขึ้นสู่ปราสาทที่สะดวกที่สุด<ref>{{cite web | title = Q&A: Thailand-Cambodia temple dispute | url = http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-pacific-12378001 | publisher = BBC | date = 2013-11-07 | accessdate = 2013-11-10}}</ref>
 
ปราสาทพระวิหารมีสถาปัตยกรรมแบบเขมร สร้างตามแนวเหนือใต้ซึ่งผิดแปลกไปจากปราสาทขอมส่วนใหญ่ ไทยและกัมพูชามีประวัติพิพาทเหนือตัวปราสาทเป็นเวลานานแล้ว ใน พ.ศ. 2505 [[ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ]]พิพากษาให้กัมพูชามีอธิปไตยเหนือปราสาท '' (ดู [[คดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505]]) '' และวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 [[องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ]]ขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็น[[มรดกโลก]]ในประเทศกัมพูชา<ref>[http://www.iht.com/articles/ap/2008/07/08/america/NA-Canada-Thailand-Cambodia-Temple.php International Herald Tribune] {{en icon}}</ref>
บรรทัด 22:
 
ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศไม่เคยชี้ขาดว่าเขตแดนไทย-กัมพูชาดังกล่าวมีเส้นอยู่ตรงจุดใด ศาลฯ ชี้ขาดเพียงว่า กัมพูชามี[[อธิปไตยทางดินแดน]]เหนือปราสาทพระวิหาร แต่ก็มีชาวไทยบางคนเข้าใจว่า ศาลฯ ชี้ขาดแต่ตัวปราสาทเท่านั้น ไม่รวมถึงอาณาบริเวณอันเป็นที่ประดิษฐานปราสาทแต่อย่างใด<ref name="ไทยเสียดินแดนให้เขมร">บุญร่วม เทียมจันทร์, '''ไทยแพ้คดีเสียดินแดนให้เขมร''', สำนักพิมพ์ อนิเมทกรุ๊ป จำกัด, 2550</ref>
 
== การเยี่ยมชม ==
ในอดีตการเยี่ยมชมปราสาทพระวิหารจะใช้ทางขึ้นจากฝั่งไทย โดยทางการไทยและทางการกัมพูชามีรายได้จากการท่องเที่ยวร่วมกัน แต่ปัจจุบันมีความตรึงเครียดระหว่างแนวชายแดนประชาชนทั่วไปจึงไม่สามารถขึ้นไปชมประสาทจากทางประเทศไทยได้อีก กัมพูชาได้สร้างถนนคอนกรีตยาว 3 กิโลเมตรไต่เขาขึ้นไปยังปราสาทพระวิหารสำเร็จแล้ว และเป็นทางที่ประชาชนทั่วไปใช้ขึ้นไปชมปราสาทได้ในปัจจุบันผ่านทางประเทศกัมพูชา<ref>นิตยสารสารคดี ฉบับที่ 296 หน้า 154-169</ref>
 
== สถาปัตยกรรม ==
เส้น 34 ⟶ 37:
ปราสาทพระวิหารมีความยาว 800 เมตรตามแนวเหนือใต้ และส่วนใหญ่เป็นทางเข้ายาว และบันไดสูงถึงยอดเขา จนถึงส่วนปราสาทประธาน ซึ่งอยู่ที่ยอดเขาทางใต้สุดของปราสาท (สูง 120 เมตรจากปลายตอนเหนือสุดของปราสาท 525 เมตรจากพื้นราบของกัมพูชา และ 657 เมตรจาก[[ระดับน้ำทะเล]]<ref name="ความเมืองเรื่องเขาพระวิหาร">ความเมืองเรื่องเขาพระวิหาร, ประหยัด ศ.นาคะนาท และ จำรัส ดวงธิสาร</ref>) แต่โครงสร้างปราสาทแห่งนี้ก็ยังแตกต่างอย่างมากจากสถาปัตยกรรมปราสาทหินของหินโดยทั่วไปที่พบใน[[พระนคร]] เพื่อจำลอง[[เขาพระสุเมรุ]] อันเป็นที่ประทับของเทพเจ้าตามคติความเชื่อของฮินดู
 
ปราสาทพระวิหารประกอบด้วยทางเดินและอาคารเรียงกัน ลานหินต่างระดับมีทั้งหมด 4 ระดับ ทางเข้าสู่ปราสาทประธานนั้น มี[[โคปุระ]] (ซุ้มประตู<ref name="สู่...ปราสาทพระวิหาร"/>) คั่นอยู่ 5 ชั้น (นับจากชั้นในออกมา ดังนั้นโคปุระชั้นที่ 5 จึงเป็นส่วนที่ผู้เข้าชมจะพบเป็นส่วนแรก) เป็นกลุ่มอาคารรูปกากบาท ซึ่งกรมศิลปากรเรียกว่า "มณเฑียรมนเทียร"<ref>ธิดา สาระยา. หน้า 69.</ref> ชั้นที่สำคัญ คือ โคปุระชั้นที่ 3 และ 4<ref>ธิดา สาระยา. หน้า 71.</ref> โคปุระแต่ละชั้นก่อนถึงลานด้านหน้า จะผ่านบันไดหลายขั้น โคปุระแต่ละชั้นจึงเปลี่ยนระดับความสูงทีละช่วง นอกจากนี้โคปะรุยังบังมิให้ผู้ชมเห็นส่วนถัดไปของปราสาท จนกว่าจะผ่านทะลุแต่ละช่วงไปแล้ว
 
=== บันไดหน้า ===
เส้น 79 ⟶ 82:
* '''ระเบียงคด''' ด้านทิศเหนือยาว 22 เมตรกว้าง 5.5 เมตร มีผนังละ 3 ประตูที่ผนังด้านเหนือและใต้ด้านทิศตะวันออกและตก กว้าง 4 เมตร ยาว 52 เมตรผนังด้านนอกทำทึบ ผนังด้านในมีหน้าต่าง ข้างละ 20 ช่อง ด้านทิศใต้ ผนังด้านในมีหน้าต่าง 6 ช่อง ตรงกลางมีประตู
* '''ปรางค์ประธาน''' มีวิหารเชื่อมต่ออยู่ทางทิศเหนือ มีฐานย่อมุม 3 ชั้น ชั้นแรกอยู่เสมอพื้นราบ ชั้นที่ 2 สูง 75 เซนติเมตร ทุกที่ ๆ ตรงกับประตูมีบันได 5 ขั้น กว้าง 70 เซนติเมตร สูง 50 เซนติเมตร ตัวปรางค์ทรุดพังมาครึ่งองค์ เหลือเพียงราว 9 เมตร กว้าง 7 เมตร วิหารที่เชื่อมต่อ ฐานกว้าง 15 เมตร ยาว 17 เมตร สูง 1.5 เมตร มีประตูทั้ง 4 ทิศ บันไดตรงประตูทิศเหนือมี 3 ขั้น กว้าง 70 เซนติเมตร สูง 1.5 เมตร ประตูทิศใต้เชื่อมกับปรางค์ มีหน้าต่างด้านตะวันออกและตก ด้านละ 1 ช่อง กลางวิหารมีแท่งหินรูปสี่เหลี่ยม 1 แท่น
* '''มณเฑียรมนเทียรตะวันออก''' กว้าง 16 เมตร ยาว 20.5 เมตรมีมุขด้านเหนือ, ใต้, ตะวันออกแต่ละมุขมีประตู 3 ประตู ภายในแบ่งเป็นห้อง ๆ
* '''มณเฑียรมนเทียรตะวันตก''' กว้าง 18.5 เมตร ยาว 20.5 เมตรมีมุขด้านเหนือ, ใต้, ตะวันตกแต่ละมุขมีประตู 3 ประตู
 
=== เป้ยตาดี ===
เส้น 94 ⟶ 97:
 
=== การก่อสร้าง ===
ปราสาทพระวิหารประกอบด้วยหมู่เทวาลัยและปราสาทหินจำนวนมาก เทวาลัยหรือปราสาทหินแห่งแรกสร้างขึ้นเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 9 ซากปรักหักพังของเทวาลัยที่เหลืออยู่ มีอายุตั้งแต่สมัย[[เกาะแกร์]] ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 10 ครั้นเมื่อนครหลวงของ[[อาณาจักรขอม]]อยู่ใกล้ คือ ที่[[นครวัด]] นอกจากนี้ยังมีองค์ประกอบบางประการในรูปแบบศิลปะของ[[ปราสาทบันทายศรี]] ตามหลักจารึกที่ค้บพบ 3 หลักคือ จารึกศิวะศักติ จารึกหมายเลข K380 และ K381 เชื่อว่าเริ่มก่อสร้างในสมัย[[พระเจ้าชัยวรมันที่ 2]] (พ.ศ. 1432-1443) และเป็นรูปร่างเมื่อในสมัยพระเจ้ายโศวรมัน ซึ่งสถาปนาศรีศิขเรศวร ในปี พ.ศ. 1436<ref name="สารคดี"/> แต่โครงสร้างส่วนใหญ่ของปราสาทแห่งนี้สร้างขึ้นในสมัย[[พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1]] (มีพระนามจารึกที่กรอบประตูโคปุระชั้นที่ 2 ว่า "สูรยวรรมเทวะ" และปีที่สร้างแล้วเสร็จในสมัยของพระองค์ตามจารึกคือ พ.ศ. 1581<ref name="ความเมืองเรื่องเขาพระวิหาร"/>) และพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ในครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 11 และ 12 ตามลำดับ<ref name="สารคดี"/> ปราสาทพระวิหารสร้างด้วยศิลาทรายซึ่งสกัดจากบริเวณเทือกเขาพนมดงรักนี้ และวัสดุก่อสร้างอื่น ได้แก่ อิฐเผาและ "ไดทะมะป้วก" (ดินเหนียวคล้ายหิน) <ref>ธิดา สาระยา. หน้า 49.</ref> ปัจจุบันปราสาทหลงเหลือแต่เพียงซากปรักหักพัง แต่ทว่ายังมีอาคารปราสาทเหลืออยู่อีกหลายแห่ง<ref name="ไทยเสียดินแดนให้เขมร" />
 
== กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร ==
เส้น 123 ⟶ 126:
{{บทความหลัก|กรณีการตีความคำพิพากษาคดีปราสาทพระวิหาร}}
 
เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2554 กัมพูชาได้ยื่นคำร้องต่อ[[ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ]]เพื่อขอให้ศาลตีความคำพิพากษาคดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505 และในวันเดียวกัน ประเทศกัมพูชาได้ยื่นคำร้องต่อศาล ขอให้ศาลกำหนดวิธีการชั่วคราวเพื่อคุ้มครองสิทธิของตน <ref>INTERNATIONAL COURT OF JUSTICE, [http://www.icj-cij.org/docket/files/151/16480.pdf Cambodia files an Application requesting interpretation of the Judgment rendered by the Court on 15 June 1962 in the case concerning the Temple of Preah Vihear (Cambodia v. Thailand) and also asks for the urgent indication of provisional measures], 2 May 2011</ref> วันที่ 18 กรกฎาคม 2554 ศาลจึงสั่งกำหนดวิธีการชั่วคราวบางประการ
 
== โบราณสถานและโบราณวัตถุที่สันนิษฐานว่าเกี่ยวเนื่อง ==