ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 83:
 
ต่อมาในบั้นปลายชีวิต ได้รับพระราชทานยศสูงสุดเป็น [[พลเอก]] (พล.อ.) และได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาล[[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2491 ซึ่งกลับมารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้งหลัง[[รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490|จากรัฐประหารเมื่อปี พ.ศ. 2490]] และ[[รัฐประหาร 6 เมษายน พ.ศ. 2491|รัฐประหาร พ.ศ. 2491]] ซึ่งก่อนหน้าการรัฐประหาร พ.ศ. 2491 ไม่นาน พระยาเทพหัสดินก็เป็นหนึ่งในผู้ที่สนับสนุนให้ จอมพล ป. กลับมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง<ref>''นายควง อภัยวงศ์ กับพรรคประชาธิปัตย์'' โดย ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม (กรุงเทพมหานคร, พ.ศ. 2522)</ref>
นอกจากนี้ยังเป็นต้นตระกูลของอรชร เทพหัสดิน ณ อยุธยา (หรือแพรวา 9 ศพ) โดยตระกูลเทพหัสดินนั้นมีความเป็นใหญ่ในแผ่นดินไทยมาก ดังที่จะเห็นได้จากการกล่าวอ้างตามด้านล่าง
 
พลเอกวิชญ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา (ชื่อเล่น: น้อย) อดีตประธานคณะที่ปรึกษากองทัพบก เกิดเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2493 เป็นบุตรชายคนโตของ พล.อ.ยศ เทพหัสดิน ณ อยุธยา รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาล พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ และ คุณหญิงเพลิน เทพหัสดิน ณ อยุธยา มีน้องสาว 2 คน คือ นางสาวณัฐธยาน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา และ น.ส.สิริยส เทพหัสดิน ณ อยุธยา (*ข้อมูลในวีกีฯไม่ครบ มีน้องชายอีก 2 คนหนึ่งในนั้นคือ พันเอกรัฐชัย พ่อ แพรวา)
 
จบการศึกษาจากโรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 11 (ตท.11-ร่วมรุ่นเดียวกับ พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ์, พล.ร.อ.สุวิทย์ ธาระรูป), โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 22 (จรป.22-ร่วมรุ่นเดียวกับ พล.อ.พิเชษฐ์ วิสัยจร, พล.ต.ขัตติยะ สวัสดิผล)
 
รับราชการในเหล่าทหารราบ ได้รับตำแหน่งสำคัญ เช่น ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ 41 ในปี พ.ศ. 2545, ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ 11 ในปี พ.ศ. 2547, ราชองครักษ์ ในปี พ.ศ. 2548, รองแม่ทัพภาคที่ 1 ในปีเดียวกัน, แม่ทัพน้อยที่ 1 ในปี พ.ศ. 2549, ที่ปรึกษาสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ, หัวหน้าคณะนายทหารฝ่ายเสนาธิการประจำผู้บังคับบัญชา ในปี พ.ศ. 2551, ตุลาการศาลทหารสูงสุด เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2552 และได้รับเลื่อนยศเป็น พลเอก (พล.อ.) พร้อมกับรับตำแหน่งผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก ในเดือนตุลาคม ปีเดียวกัน ถือเป็นนายทหารที่ใกล้ชิดสนิทสนมกับ พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม คนหนึ่งโดยที่ พล.อ.วิชญ์ มีชื่อที่เรียกอย่างไม่เป็นทางการจากสื่อมวลชนว่า "บิ๊กน้อย"
 
ในปี พ.ศ. 2553 มีข่าวคราวว่าอาจจะได้รับตำแหน่งเป็นผู้บัญชาการทหารบกต่อจาก พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา ที่จะเกษียณในกลางปีเดียวกัน ร่วมกับ พล.อ.พิรุณ แผ้วพลสง แต่แล้วท้ายที่สุดตำแหน่งนี้ก็ตกเป็นของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ในที่สุด
 
พล.อ.วิชญ์ เคยตกเป็นข่าวว่าอาจเป็นนายทหารผู้นำการรัฐประหาร โดยผู้ที่เปิดเผย คือ พล.ต.ขัตติยะ สวัสดิผล หรือ เสธ.แดง ซึ่งเป็นเพื่อนร่วมรุ่นและ นายประชา ประสพดี ส.ส.จังหวัดสมุทรปราการ พรรคเพื่อไทย ซึ่งเจ้าตัวได้ออกมาปฏิเสธอย่างแข็งกร้าวพร้อมกับตอบโต้กลับไปแต่ทว่าเมื่อ พล.ต.ขัตติยะถูกลอบสังหารและเสียชีวิตลง พล.อ.วิชญ์ ในฐานะเพื่อนร่วมรุ่นก็ได้ไปร่วมในงานศพด้วย ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประธานที่ปรึกษากองทัพบก เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553
<ref>http://pantip.com/topic/31953115</ref> [[ประวัติตระกูลเทพหัสดิน]]
 
== อ้างอิง ==