ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลศาสตร์ควอนตัม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการแก้ไขของ 1.4.202.105 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Addbot
บรรทัด 4:
'''กลศาสตร์ควอนตัม''' ({{lang-en|quantum mechanics}}) เป็นสาขาหนึ่งในทฤษฎีรากฐานของ[[ฟิสิกส์]] ที่มีความสามารถในการอธิบายผลการทดลองต่างๆ และถูกใช้แทนที่[[กลศาสตร์นิวตัน]] (หรือ[[กลศาสตร์ดั้งเดิม]]) และ [[กลศาสตร์ไฟฟ้าของแม็กซ์เวลล์]] (หรือ[[ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า]]) ซึ่งกลศาสตร์ดั้งเดิมเหล่านี้ไม่สามารถใช้อธิบายปรากฏการณ์ในวัตถุที่มีขนาดเล็กกว่า[[อะตอม]] แต่กลศาสตร์ควอนตัมนั้นสามารถคำนวณได้แม่นยำมากกว่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อขนาดของวัตถุที่สนใจนั้นเล็กถึงขนาดอะตอม จึงกล่าวได้ว่ากลศาสตร์ควอนตัมนั้นเป็นรากฐานเบื้องต้นของฟิสิกส์ที่มีความสำคัญมากกว่ากลศาสตร์นิวตันและกลศาสตร์ไฟฟ้าของแม็กซ์เวลล์ หรือใกล้เคียงกับความจริงมากกว่านั่นเอง
 
กลศาสตร์ควอนตัมเริ่มในปี [[พ.ศ. 24232443]] เมื่อ [[มักซ์ ควายพลังค์]] ตีพิมพ์ทฤษฎีที่อธิบายถึงการปล่อยสเปกตรัมออกจาก[[วัตถุดำ]] ซึ่ง 48918 ปีต่อมา เขาได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์]]
 
ข้อแตกต่างของกลศาสตร์ดั้งเดิมและกลศาสตร์ควอนตัม กลายเป็นเรื่องประหลาด จนกระทั่งในปี [[พ.ศ. 2469]] [[แวร์เนอร์ ไฮเซนแบร์ก]] [[แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์]] และคนอื่นๆ สามารถอธิบายทฤษฎีดังกล่าวทางคณิตศาสตร์ได้