ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขิงญี่ปุ่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 23:
'''ขิงญี่ปุ่น''' หรือ '''เมียวงะ''' ({{lang-ja|茗荷}}) จัดอยู่ในสปีชีส์ ''Zingiber mioga'' ใน[[วงศ์ขิง]] (Zingiberaceae) เป็น[[พืชอายุหลายปี]]ที่เป็น[[ไม้ล้มลุก]] [[ผลัดใบ]] เป็นพืชพื้นเมืองของ[[ญี่ปุ่น]] [[จีน]] และตอนใต้ของ[[ประเทศเกาหลี|เกาหลี]]<ref name="cloves">[http://apps.kew.org/wcsp/namedetail.do?name_id=273338 Kew World Checklist of Selected Plant Families]</ref><ref>[http://www.efloras.org/florataxon.aspx?flora_id=2&taxon_id=200028463 Flora of China v 24 p 332, <big>蘘荷</big> rang he, ''Zingiber mioga'' <small>(Thunberg) Roscoe,</small> Trans. Linn. Soc. London, Bot. 8: 348. 1807. ]</ref> ใช้เพียงดอกตูมและหน่อที่ดูน่ารับประทานเท่านั้น ในการนำมาทำอาหาร<ref>Matsuhisa, Nobu and Mark Edwards. (2007). [http://books.google.com/books?id=wPMvfj0W7isC&pg=PA252&dq= ''Nobu West,'' p. 252].</ref> ดอกตูมจะถูกหั่นอย่างสวยงาม และใช้ใน[[อาหารญี่ปุ่น|ครัวญี่ปุ่น]]เพื่อประดับอาหาร สำหรับซุปเต้าเจี้ยว ([[มิโสะ]]ชิรุ) เครื่องดองแบบจีน (ซุโนะโมะโนะ) และอาหารเช่นมะเขือเผา ใน[[อาหารเกาหลี|ครัวเกาหลี]] ดอกตูมถูกเสียบไม้สลับกับเนื้อสัตว์ จากนั้นจึงนำไปทอดในน้ำมันตื้น ๆ
 
แต่เดิมขิงชนิดนี้เป็นพืชที่เก็บเกี่ยวใน[[ญี่ปุ่น]] แต่ต่อมามีผู้นำไปปลูกใน[[ออสเตรเลีย]]และ[[นิวซีแลนด์]]เพื่อส่งออกไปยังตลาดญี่ปุ่น
 
เช่นเดียวกับพืชป่าทั่วไป ขิงญี่ปุ่นชอบที่ร่มแสงแดดรำไร ทนความหนาวเย็นได้ -18 องศาเซลเซียส หรือ 0 องศาฟาเรนไฮต์ และอาจทนความเย็นได้มากกว่านั้น