ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระที่นั่งท้ายสระ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
จันทราสว่าง (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21:
|}}
 
'''สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9'''<ref name="พระนาม">ราชบัณฑิตสถาน. ''[http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=968 พระนามพระมหากษัตริย์สมัยอยุธยา]''. สืบค้นเมื่อวันที่ 17 มกราคม 2556</ref> หรือ '''พระเจ้าท้ายสระ'''<ref name="พระนาม"/> หรือ '''สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ''' หรือ '''สมเด็จพระภูมินทรมหาราชาท้ายสระ''' พระนามเดิม เจ้าฟ้าเพชร เป็นพระราชโอรสองค์โตในมหากษัตริย์รัชกาลที่ 29 แห่ง[[สมเด็จพระเจ้าเสืออาณาจักรอยุธยา]] ขึ้นและเป็นพระองค์ที่สามแห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ราชวงศ์สุดท้ายของอาณาจักรอยุธยา ทรงครองราชย์ใน ปี [[พ.ศ. 2251| - พ.ศ. 2251]] ภายหลังการสวรรคตของพระราชบิดา โดยมี[[เจ้าฟ้าพร]] พระอนุชา เป็น[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]2275
 
==พระราชประวัติ==
 
สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 เป็นพระราชโอรสองค์โตใน[[สมเด็จพระเจ้าเสือพระสรรเพชญ์ที่ 8]] ขึ้นครองราชย์ใน ปี [[พ.ศ. 2251|พ.ศ. 2251]] ภายหลังการสวรรคตของพระราชบิดา มีพระนามว่า '''สมเด็จพระภูมินทรมหาราชา''' โดยพระนามที่เป็นที่รู้จักกัน คือ พระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ โดยมี[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ|เจ้าฟ้าพร]] พระอนุชาเป็น[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]
 
===สงครามแย่งชิงราชสมบัติ===
ปลายรัชสมัย มีการแย่งชิงราชสมบัติอย่างรุนแรง กินระยะเวลาไม่ต่ำกว่า 1 ปี ระหว่างพระราชโอรส 2 พระองค์ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ กับ[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ]]([[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]]) พระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ เสด็จสวรรคตด้วยพระโรค[[มะเร็ง]]ที่พระชิวหาและพระศอ ในปี [[พ.ศ. 2275|พ.ศ. 2275]] รวมระยะเวลาครองราชย์ 24 ปี
ในขณะที่สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 ทรงพระประชวรหนักนั้น พระองค์มีพระราชประสงค์ที่จะทรงมอบราชสมบัติให้แก่ [[เจ้าฟ้านเรนทร]] พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ ซึ่งในขณะนั้นผนวชอยู่ แต่เจ้าฟ้านเรนทรไม่เต็มพระทัย เนื่องจากในขณะนั้นเจ้าฟ้าพร พระอนุชาในพระองค์ทรงดำรงตำแหน่งพระมหาอุปราชที่กรมพระราชวังบวรสถานมงคล สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 จึงตัดสินพระทัยทรงมอบราชสมบัติให้แก่ [[เจ้าฟ้าอภัย]] แทน
 
ภายหลังการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 ได้เกิดสงครามแย่งชิงราชสมบัติขึ้น เมื่อ เจ้าฟ้าอภัย และ[[เจ้าฟ้าปรเมศร์]] พระราชโอรสทั้ง 2 ของพระองค์ซึ่งทรงดำรงพระอิสริยยศที่กรมพระราชวังบวรสถานมงคล มีสิทธิที่จะขึ้นครองราชสมบัติสืบต่อจากพระเชษฐา แต่เมื่อพระเชษฐาใกล้เสด็จสวรรคตกลับตัดสินพระทัยทรงมอบราชสมบัติแก่ เจ้าฟ้านเรนทรแทน แต่เจ้าฟ้านเรนทรไม่เต็มพระทัย จึงยกราชสมบัติให้แก่เจ้าฟ้าอภัย พระราชโอรสพระองค์รอง เป็นเหตุให้เกิดการต่อสู้แย่งชิงราชสมบัติจนกลายเป็นสงครามกลางเมือง กินระยะเวลาไม่ต่ำกว่า 1 ปี
 
== พระนาม ==
 
* สมเด็จพระที่นั่งท้ายสระ มาจากนาม[[พระที่นั่งบรรยงก์รัตนาสน์]] ซึ่งพระองค์ใช้เป็นประทับอันอยู่ข้างสระน้ำท้ายพระบรมมหาราชวัง
* สมเด็จพระสรรเพ็ชญ์สรรเพชญ์ที่ 9
* สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ
* สมเด็จพระภูมินทราธิราช
* ขุนหลวงทรงปลา
เส้น 38 ⟶ 42:
== พระราชกรณียกิจ ==
 
ในรัชสมัย สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระของพระองค์ มีเรื่องราวที่น่าสนใจคือ มีการแต่ง[[เรือสำเภา]]บรรทุกสินค้าไปค้าขายที่[[เมืองท่า]][[มะริด]] ไปจรดถึง[[ทวีปแอฟริกา]]ตอนเหนือ มีการขุด[[คลอง]]สำคัญอันเป็นเส้นทางคมนาคม คือ "คลองมหาไชย" และ "คลองเกร็ดน้อย" มีการแข่งกันสร้างวัด ระหว่างพระองค์กับพระอนุชา คือ [[วัดมเหยงค์]] และ[[วัดกุฏีดาว]] มีการเคลื่อนย้ายพระนอนองค์ใหญ่ของ[[วัดป่าโมก]]เพื่อให้พ้นจากการถูกน้ำเซาะตลิ่ง เป็นต้น
 
ในด้านการต่างประเทศ มีการส่งราชทูตไปเจริญทางพระราชไมตรีกับ[[จีน]]ถึงสี่ครั้ง ทำให้การค้าขายระหว่าง[[ไทย]]กับ[[จีน]] ขยายตัวเพิ่มมากขึ้น ในปี [[พ.ศ. 2244|พ.ศ. 2244]] เกิดความวุ่นวายใน[[เขมร]] อันเนื่องจากการแย่งราชสมบัติกัน [[เจ้าเมืองละแวก]] ขอเข้ามาอยู่ภายใต้พระบรมโพธิสมภาร สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ ส่วน[[พระแก้วฟ้า]]ผู้เป็นอนุชาฝักใฝ่อยู่กับฝ่าย[[ญวน]] ซึ่งพยายามแผ่อำนาจเข้าไปใน[[เขมร]] พระองค์ได้ส่งกองทัพ[[กรุงศรีอยุธยา]]เข้าไปถึง[[เมืองอุดงมีชัย]] ราชธานีของ[[เขมร]] และได้เกลี้ยกล่อมให้[[พระแก้วฟ้า]]กลับมาอ่อนน้อมต่อ[[ไทย]] [[เขมร]]จึงมีฐานะเป็น[[ประเทศราช]]ของ[[ไทย]]เช่นแต่ก่อน
 
== เกร็ดที่น่าสนใจ ==
* ทรงเป็นกษัตริย์ที่โปรดเสวย[[ปลาตะเพียน]]มาก โดยออกพระราชกำหนดห้ามราษฎรจับหรือรับประทานปลาตะเพียน หากผู้ใดฝ่าฝืน มีบทลงโทษ คือ ปรับเป็นเงิน 5 ตำลึง หรือ 20 บาท
* พระราชทานท้องพระโรงแก่[[สมเด็จพระสังฆราชแตงโม (ทอง)]] ซึ่งเป็นพระอาจารย์ของพระองค์โดยล่องเรือจากอยุธยาไปเพชรบุรีแล้วไปสร้างที่[[วัดใหญ่สุวรรณาราม]] (วัดสุวรรณาราม บ้างก็เรียกวัดใหญ่) จึงทำให้คงเหลือพระราชวัง ท้องพระโรงที่แสดงถึงศิลปกรรมของอยุธยาที่เหลือรอดจากการเผาของ[[พม่า]]เมื่อคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 อยู่ที่จังหวัดเพชรบุรี
 
สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 เสด็จสวรรคตด้วยพระโรค[[มะเร็ง]]ที่พระชิวหาและพระศอ ในปี [[พ.ศ. 2275|พ.ศ. 2275]] รวมระยะเวลาครองราชย์ 24 ปี
 
== ราชตระกูล ==