ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความขัดแย้งอิสราเอล–ปาเลสไตน์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 29:
|casualties3= 21,500 คน (2508–2556)<ref>Monty G. Marshall. ''Major Episodes of Political Violence 1946-2012''. SystemicPeace.org. "Ethnic War with Arab Palestinians / PLO 1965-2013". Updated 12 June 2013 [http://www.systemicpeace.org/warlist.htm]</ref>
}}
'''ความขัดแย้งอิสราเอล–ปาเลสไตน์''' เป็นการต่อสู้ที่กำลังดำเนินอยู่ระหว่าง[[ประเทศอิสราเอล|ชาวอิสราเอล]]และ[[รัฐปาเลสไตน์|ชาวปาเลสไตน์]]ซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20<ref name=bbc2>{{cite web|url=http://news.bbc.co.uk/2/shared/spl/hi/middle_east/03/v3_ip_timeline/html/default.stm|title=A History of Conflict: Introduction|work=A History of Conflict|publisher=[[BBC News]]}}</ref> ความขัดแย้งนี้เกิดเป็นวงกว้าง และบางครั้งยังใช้คำนี้อ้างอิงถึงความขัดแย้งนิกายใน[[Mandatory Palestine|ปาเลสไตน์ในอาณัติ]]ระหว่าง[[yishuv|ยีชูฟ]] (yishuv) [[ขบวนการไซออนิสต์]]กับประชากรอาหรับภายใต้การปกครองของอังกฤษ ความขัดแย้งอิสราเอล–ปาเลสไตน์ก่อเกิดเป็นส่วนสำคัญของ[[ความขัดแย้งอาหรับ–อิสราเอล]]ที่ใหญ่กว่า ถูกเรียกอย่างกว้างขวางว่าเป็น "ความขัดแย้งที่หายยากที่สุด" ของโลก<ref>[https://divinity.duke.edu/about/contact-duke-divinity-school/faculty/staff/chris-rice Chris Rice], [[Epigraph (literature)|quoted in]] Munayer Salim J, Loden Lisa, [http://books.google.co.uk/books?id=pSsmAwAAQBAJ&pg=PT1#v=onepage&q&f=false Through My Enemy's Eyes: Envisioning Reconciliation in Israel-Palestine], quote: "The Palestinian-Israeli divide may be the most intractable conflict of our time."</ref><ref>[http://polisci.columbia.edu/people/profile/78 Virginia Page Fortna], [http://books.google.co.uk/books?id=7MXPOz95A_IC&pg=PA67#v=onepage&q&f=false Peace Time: Cease-fire Agreements and the Durability of Peace], page 67, "Britain's contradictory promises to Arabs and Jews during World War I sowed the seeds of what would become the international community's most intractable conflict later in the century."</ref><ref>Avner Falk, [http://books.google.co.uk/books?id=4CNVmZIen3AC&pg=PA8#v=onepage&q&f=false Fratricide in the Holy Land: A Psychoanalytic View of the Arab-Israeli Conflict], Chapter 1, page 8, "Most experts agree that the Arab-Israeli conflict is the most intractable conflict in our world, yet very few scholars have produced any psychological explanation—let alone a satisfactory one—of this conflict's intractability"</ref>
 
แม้มีกระบวนการสันติภาพระยะยาวและการปรองดองทั่วไปของอิสราเอลกับอียิปต์และจอร์แดน แต่อิสราเอลและปาเลสไตน์ไม่สามารถบรรลุความตกลงสันติภาพขั้นสุดท้ายได้ ประเด็นสำคัญที่ยังเหลืออยู่ คือ การรับรองร่วมกัน เขตแดน ความมั่นคง สิทธิน้ำ การควบคุมเยรูซาเลม นิคมอิสราเอล<ref>{{cite web|url=http://www.international.gc.ca/name-anmo/peace_process-processus_paix/canadian_policy-politique_canadienne.aspx?lang=eng |title=Canadian Policy on Key Issues in the Israeli-Palestinian Conflict |publisher=[[Government of Canada]]}}</ref> เสรีภาพในการเคลื่อนไหวของปาเลสไตน์<ref name="WorldBankReport">{{cite web|url=http://siteresources.worldbank.org/INTWESTBANKGAZA/Resources/WestBankrestrictions9Mayfinal.pdf |title=Movement and Access Restrictions in the West Bank: Uncertainty and Inefficiency in the Palestinian Economy|publisher=[[World Bank]] |date=9 May 2007 |accessdate=29 March 2010 |quote=Currently, freedom of movement and access for Palestinians within the West Bank is the exception rather than the norm contrary to the commitments undertaken in a number of Agreements between GOI and the PA. In particular, both the Oslo Accords and the Road Map were based on the principle that normal Palestinian economic and social life would be unimpeded by restrictions}}</ref> และการแก้ไขการอ้างสิทธิการเดินทางกลับสำหรับผู้ลี้ภัยของปาเลสไตน์ ความรุนแรงของความขัดแย้งในภูมิภาคอันอุดมไปด้วยแหล่งความสนใจทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและศาสนาทั่วโลก กลายมาเป็นวัตถุประสงค์ของการประชุมระหว่างประเทศจำนวนมากว่าด้วยสิทธิทางประวัติศาสตร์ ประเด็นความมั่นคงและสิทธิมนุษยชน และเป็นปัจจัยขัดขวางการท่องเที่ยวและการเข้าถึงพื้นที่ซึ่งพิพาทกันอย่างดุเดือดโดยทั่วไป<ref>Edward Wright, [http://articles.latimes.com/2000/may/28/travel/tr-34813 'Tourism Curbed in Palestinians Areas,'] Los Angeles Times, May 28, 2000.</ref>
 
มีความพยายามหลายครั้งเพื่อเป็นนายหน้าทางแก้สองรัฐ (two-state solution) อันเกี่ยวข้องกับการสถาปนารัฐปาเลสไตน์เอกราชขึ้นคู่กับรัฐอิสราเอล (หลังการสถาปนาอิสราเอลในปี 2491) ในปี 2550 ตามการหยั่งเสียงจำนวนหนึ่ง ทั้งชาวอิสราเอลและปาเลสไตน์ส่วนใหญ่เห็นชอบทางแก้สองรัฐเป็นวิธีแก้ไขความขัดแย้งมากกว่าทางแก้อื่น<ref name="Yaar">{{cite web|last=Yaar|first=Ephraim|last2=Hermann|first2=Tamar|url=http://www.haaretz.com/print-edition/features/just-another-forgotten-peace-summit-1.235013|title=Just another forgotten peace summit|work=Haaretz|date=11 December 2007|ref=harv}}</ref> ยิ่งไปกว่านั้น สาธารณชน[[ยิว]]ส่วนใหญ่ยังมองว่าข้อเรียกร้องรัฐเอกราชของชาวปาเลสไตน์ชอบธรรม และคิดว่าประเทศอิสราเอลสามารถตกลงให้จัดตั้งรัฐเช่นว่าได้<ref>{{cite book |last=Kurtzer |first=Daniel |last2=Lasensky |first2=Scott |author3=Organization |title=Negotiating Arab-Israeli Peace: American Leadership in the Middle East |year=2008 |publisher=United States Institute of Peace Press |isbn=9781601270306 |page=79}}</ref><!-- A majority of Palestinians and Israelis view the West Bank and Gaza Strip[needs copy edit] have expressed a preference for a two-state solution --> ความไม่ไว้วางใจร่วมกันและความไม่ลงรอยอย่างสำคัญหยั่งลึกในประเด็นพื้นฐาน เช่นเดียวกับกังขาคติต่อกันและกันเกี่ยวกับการผูกมัดตามพันธกรณีที่รักษาในความตกลงท้ายที่สุด<ref>{{harvnb|Yaar|Hermann|2007}}: "The source of the Jewish public's skepticism – and even pessimism – is apparently the widespread belief that a peace agreement based on the 'two states for two peoples' formula would not lead the Palestinians to end their conflict with Israel."</ref>
 
ในสังคมอิสราเอลและปาเลสไตน์ ความขัดแย้งนี้ก่อให้เกิดมุมมองและความคิดเห็นหลากหลาย ซึ่งเน้นการแบ่งแยกลึกล้ำซึ่งไม่ได้มีเฉพาะระหว่างชาวอิสราเอลและชาวปาเลสไตน์เท่านั้น แต่ยังภายในแต่ละสังคมด้วย ลักษณะเด่นของความขัดแย้งนี้เป็นระดับความรุนแรงที่สังเกตได้แทบตลอดระยะของความขัดแย้ง มีการสู้รบโดยกองทัพตามแบบ กลุ่มกึ่งทหาร กลุ่มก่อการร้ายและปัจเจกบุคคล กำลังพลสูญเสียมิได้จำกัดแต่เฉพาะทหาร แต่ทั้งสองฝ่ายยังสูญเสียประชากรพลเรือนไปเป็นอันมาก มีตัวแสดงระหว่างประเทศที่โดดเด่นเกี่ยวข้องในความขัดแย้งนี้ด้วย