ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การตั้งครรภ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
G(x) (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
G(x) (คุย | ส่วนร่วม)
temporary transfer to allow all revisions in place
บรรทัด 1:
{{บทความดีแทค}}
[[ไฟล์:Expecting mother.jpg|thumb|right|250px]]
'''การตั้งครรภ์''' คือกระบวนการพัฒนาตัวอ่อนในครรภ์ในระยะที่เป็น[[เอ็มบริโอ]] หรือฟีตัส ในระหว่างที่ตัวอ่อนฝังตัวใน[[มดลูก]]ของผู้หญิง โดยทั่วไปสำหรับการ[[gestation|ตั้งครรภ์]] ใน [[human|มนุษย์]] มีทั้งการตั้งครรภ์เดี่ยว หรือ [[multiple birth|ครรภ์แฝด]] ที่เกี่ยวข้องกับตัวอ่อนของการตั้งครรภ์ที่มากกว่า 1 เช่น [[twin|ฝาแฝด]] ตามหลักการแล้ว [[Childbirth|การคลอด]] มักเกิดขึ้นประมาณ 38 สัปดาห์ แต่ในผู้หญิงที่มีความยาวของรอบเดือน 4 สัปดาห์ การคลอดจะเกิดขึ้น 40 สัปดาห์โดยนับจากวันแรกของการมีประจำเดือนครั้งสุดท้าย การตั้งครรภ์ของมนุษย์มีการศึกษากันมากที่สุดในบรรดา [[Pregnancy (mammals)|สัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยนม]]ด้วยกัน หลักการคือ [[sexual intercourse|การมีเพศสัมพันธุ์]] หรือ [[assisted reproductive technology|เทคโนโลยีช่วยในการสืบพันธุ์]]
 
[[embryo|ตัวอ่อนในครรภ์]] จะถูกพัฒนาในการตั้งครรภ์ 8 สัปดาห์แรก และพัฒนามาเป็นทารกในครรภ์จนกระทั่งถือกำเนิด <ref>{{cite web |url=http://www.medterms.com/script/main/art.asp?articlekey=3225 |title=Embryo definition |date=27 April 2011 |publisher=MedicineNet, Inc}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.medterms.com/script/main/art.asp?articlekey=3424 |title=Fetus definition |date=27 April 2011|publisher=MedicineNet, Inc}}</ref> ในทางการแพทย์ได้กำหนดว่า การตั้งครรภ์ของมนุษย์ได้แบ่งเป็น 3 ไตรมาสเพื่อง่ายต่อการอ้างอิงช่วง[[prenatal development|พัฒนาการของการตั้งครรภ์ก่อนคลอด]] '''ไตรมาสแรก'''มีความเสี่ยงมากที่สุดก็คือการ [[miscarriage|การแท้งบุตร]](การตายธรรมชาติของตัวอ่อนหรือทารกในครรภ์) '''ไตรมาสที่สอง'''เริ่มที่จะตรวจสอบพัฒนาการและวินิจฉัยได้ง่ายขึ้น ''' ไตรมาสที่สาม''' มีการตรวจดูพัฒนาการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์และทำมีการเก็บ[[Adipose tissue|ไขมัน]]<ref>{{cite web |url=http://www.medterms.com/script/main/art.asp?articlekey=11446 |title=Trimester definition |date=27 April 2011 |publisher=MedicineNet, Inc}}</ref> [[point of fetal viability|เน้นประเด็นของการเติบโตของทารกในครรภ์]], หรือทารกในครรภ์สามารถมีชีวิตรอดเมื่ออยู่ภายนอก[[uterus|มดลูก]]ได้หรือไม่, ซึ่งมักจะเกิดขึ้นในช่วงปลายไตรมาสที่ 2 หรือต้นไตรมาส 3 ทารกที่คลอดเร็วกว่ากำหนดนั้นมีความเสี่ยงสูงในเรื่องพัฒนาการ([[Morbidity#Morbidity|เงื่อนไขทางการแพทย์]]) และอาจ[[dying|กำลังจะตาย]].<ref>{{cite journal |author=The American College of Obstetricians and Gynecologists |title=ACOG Practice Bulletin: Clinical Management Guidelines for Obstetrcian-Gynecologists: Number 38, September 2002. Perinatal care at the threshold of viability |journal=Obstet Gynecol |volume=100 |issue=3 |pages=617–24 |date=September 2002 |pmid=12220792 |doi= |url=}}</ref>
 
ในอเมริกาและอังกฤษ, 40% สำหรับ[[Unintended pregnancy|การตั้งครรภ์โดยไม่วางแผน]], และในระหว่างไตรมาสและครึ่งหนึ่งของการตั้งครรภ์แบบไม่วางแผนเป็นการ[[unwanted pregnancies|การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์]]<ref>{{cite news|title=40% of pregnancies 'unplanned'|url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/health/3515400.stm|newspaper=[[BBC News]]|date=16 March 2004}}</ref><ref>{{cite news|last=Jayson|first=Sharon|title=Unplanned pregnancies in U.S. at 40 percent|url=http://www.physorg.com/news/2011-05-unplanned-pregnancies-percent.html|newspaper=[[PhysOrg.com]]|date=20 May 2011}}</ref> คือการตั้งครรภ์แบบไม่ตั้งใจที่เกิดขึ้นในอเมริกา, 60% ของผู้หญิงมีการ [[birth control|การคุมกำเนิด]] เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์แบบไม่พึงประสงค์นี้.<ref>{{cite book |authors=K. Joseph Hurt, Matthew W. Guile, Jessica L. Bienstock, Harold E. Fox, Edward E. Wallach (eds.) |title=The Johns Hopkins manual of gynecology and obstetrics |publisher=Wolters Kluwer Health / Lippincott Williams & Wilkins |location=Philadelphia |isbn=9781605474335 |pages=232 |url=http://books.google.ca/books?id=4Sg5sXyiBvkC&pg=PR232 |edition=4th}}</ref>
 
{{TOC limit|3}}
 
==อภิธานศัพท์==
ระยะแรกของการตั้งครรภ์ในทางวิทยาศาสตร์ คือ ระยะฝักตัว ,สำหรับ[[Latin|ภาษาละติน]] คือ "หนัก" และ หญิงตั้งครรภ์บางครั้งจะเรียกว่า ''[[Gravidity|gravida]]''.<ref name = 'MFD'>{{cite web |url=http://medical-dictionary.thefreedictionary.com/gravida |title=definition of gravida |accessdate=17 January 2008 |publisher=[[TheFreeDictionary.com|The Free Dictionary]]}}</ref> ในทำนองเดียวกัน, ระยะ ''[[Parity (medicine)|parity]]'' (ย่อว่า "para") คือ ใช้นับจำนวนครั้งของหญิงในการให้กำเนิด, นับแฝด และการเกิดหลายครั้งนับเป็น 1 การตั้งครรภ์ และมักรวมไปถึง [[stillbirth|การคลอด]]. ในทางการแพทย์, ผู้หญิงที่ไม่เคยตั้งครรภ์เลย เรียกว่า ''nulligravida'', ส่วนผู้หญิงที่ตั้งครรภ์เป็นครั้งแรกจะเรียกว่า ''primigravida'',<ref name=TMHP>{{cite-TMHP|Primipara}}, page 596.</ref> และผู้หญิงที่ตั้งครรภ์หลังจากนั้นจะเรียกว่า ''[[multigravida]]'' หรือ ''multiparous.''<ref name="MFD" /><ref>{{cite web|title=Definition of nulligravida|url=http://medical.merriam-webster.com/medical/nulligravida|publisher=[[Merriam-Webster, Incorporated]]|accessdate=9 March 2012}}</ref> ดังนั้นในระหว่างผู้หญิงตั้งครรภ์ที่สองจะเรียกว่า ''gravida 2, การนับจำนวนการเกิด 1'' ครั้ง และ''การนับจำนวนการเกิดครั้งที่ 2 คือ ''โอกาสดำรงชีวิตจากการคลอด เรียกว่า ''gravida 2, ''ความเจริญก้าวหน้าการตั้งครรภ์, ตลอดจน [[abortion|การทำแท้ง]], [[miscarriage|การคลอด]] หรือ [[stillbirth|การตายจากการคลอด]] มีการรายการการบันทึกค่าความสม่ำเสมอน้อยกว่าจำนวนค่า gravida ในกรณีแฝดสองหรือแฝดสาม ฯลฯ จำนวน gravida และค่าความเท่าเทียมที่เพิ่มขึ้นแค่ 1 สำหรับหญิงที่ไม่เคยตั้งครรภ์ที่มีการดำเนินตั้งครรภ์มาจนมากกว่า 20 สัปดาห์เรียกว่าครรภ์แรก <ref>{{cite web |url=http://www.medterms.com/script/main/art.asp?articlekey=15259 |title=Nulliparous definition |date=18 November 2000 |publisher=MedicineNet, Inc}}</ref>
 
==สรีรวิทยา==
[[File:Pregnancy timeline.png|center|thumb|700px|ระยะเวลาของการตั้งครรภ์ โดยการดู [[gestational age|อายุครรภ์]].]]
 
===การเริ่มต้น===
{{See also|Human fertilization}}
[[File:Human Fertilization.png|thumb|การปฏิสนธิและการฝังตัวของมนุษย์]]
โดยปกติส่วนมากเราจะเริ่มนับการตั้งครรภ์วันแรกของการมี[[menstrual period|ประจำเดือน]]ครั้งสุดท้าย และ อายุของทารกในครรภ์ เรียกว่า [[gestational age|อายุครรภ์]]. ที่เป็นเช่นนี้เพราะเพื่อความสะดวกและความเข้าใจเรื่องธรรมชาติการถือกำเนิดขึ้นของทารก. ในกรณีที่มีการ[[in vitro fertilisation|ผสมเทียม]]อายุของการตั้งครรภ์คำนวณโดยนับตั้งแต่วันที่ทำการ [[oocyte retrieval|ดูดไข่จากรังไข่]] + 14 วัน.<ref name="pmid10776011">{{cite journal | author = Tunón K, Eik-Nes SH, Grøttum P, Von Düring V, Kahn JA | title = Gestational age in pregnancies conceived after in vitro fertilization: a comparison between age assessed from oocyte retrieval, crown-rump length and biparietal diameter | journal = Ultrasound Obstet Gynecol | volume = 15 | issue = 1 | pages = 41–6 | year = 2000 | pmid = 10776011 | doi = 10.1046/j.1469-0705.2000.00004.x }}</ref>
 
สตรีเริ่มต้นมีประจำเดือนร่างกายจะเตรียมความพร้อมสำหรับการตั้งครรภ์ได้เริ่มขึ้นแล้ว, รวมไปถึง [[follicle stimulating hormone|ฮอร์โมนกระตุ้นให้เกิดการไข่ตก]] ที่ช่วยกระตุ้น [[folliculogenesis|การเจริญของถุงไข่]] และ ลำดับต่อไปคือ [[oogenesis|การเจริญเติบโตของไข่]] เพื่อให้[[egg cell|เซลล์ไข่]]สุก ซึ่งเป็น[[gamete|เซลล์สืบพันธุ์]]ของเพศหญิง [[Human fertilization|การผสมพันธุ์]] คือ การที่ไข่จากเซลล์สืบพันธุ์ของฝ่ายหญิงถูกผสมกับ[[spermatozoon|ตัวอสุจิ]]ที่มาจากเซลล์สืบพันธุ์ของฝ่ายชาย หลังจากที่[[fertilization|ปฏิสนธิ]]กันระหว่างเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิงและเพศชายแล้วจะเกิดเป็นเซลล์เพียงหนึ่งเซลล์เรียกว่า [[zygote]] หรือ fertilized egg. ซึ่งจะเกิดจากการมี[[sexual intercourse|เพศสัมพันธุ์ร]]ะหว่างหญิงชายซึ่งเป็นผลทำให้เกิดการตั้งครรภ์ขึ้น นอกจากนี้ยังมี [[assisted reproductive technology|เทคโนโลช่วยในการเจริญพันธุ์]] เช่น [[artificial insemination|การผสมเทียม]] และ [[in vitro fertilisation|การผสมเทียมในหลอดแก้ว]] เพื่อเป็นทางเลือกสำหรับผู้มี[[infertility|บุตรยาก]].
 
กรณีการปฏิสนธิบางครั้งจะนับว่าเป็นการเริ่มต้นของการตั้งครรภ์ อายุที่ได้ก็จะเรียกว่า [[fertilization age|อายุของการปฏิสนธิ]] และอีกทางเลือกหนึ่งคือ [[gestational age|อายุครรภ์]] การปฏิสนธิมักจะเกิดขึ้นประมาณสองสัปดาห์ก่อนการเป็นประจำเดือนที่คาดว่าจะมาในครั้งถัดไป, และในทางกลับกันถ้าไม่รู้วันในกรณีนี้จะใช้กันบ่อยๆก็คือเพิ่มไป 14 วันอายุของการปฏิสนธิที่จะนับเป็นอายุครรภ์
 
===การพัฒนาการของตัวอ่อนและทารกในครรภ์===
{{Main|Prenatal development|Human embryogenesis|Fetus}}
[[File:HumanEmbryogenesis.svg|thumb|ขั้นตอนการเริ่มต้นของมนุษย์ในรูปเอ็มบริโอ([[human embryogenesis]])]]
เมื่ออสุจิและเซลล์ไข่ถูกเข้ามามาใน[[ovaries|รังไข่]] ข้างใดข้างหนึ่งของผู้หญิงแล้ว เมื่อรวมกันแล้วใน[[fallopian tubes|ท่อรังไข่]] ไข่ที่เรารู้จักกันจะอยู่ในรูปของ [[zygote]] จะเดินทางเคลื่อนตัวไปยังมดลูก เป็นการเดินทางที่ใช้เวลานานกว่าหนึ่งสัปดาห์กว่าจะสมบูรณ์ เซลล์จะเริ่มแบ่งตัวภายใน 24 ถึง 36 ชั่วโมงหลังจากที่อสุจิและไข่มารวมกัน. เซลล์แบ่งตัวอย่างต่อเนื่องในอัตราที่รวดเร็วและเซลล์ที่พัฒนาที่เรารู้กันในรูปตัวอ่อน([[blastocyst]]). ตัวอ่อนนี้จะมาถึงมดลูกและฝังตัวยึดติดกับผนังมดลูก ขั้นตอนนี้เราเรียกว่า การฝังตัว([[implantation (human embryo)|implantation]])
 
การพัฒนาของเซลล์ที่จะกลายมาเป็นทารกเรียกว่า [[Human embryogenesis|embryogenesis]] ในช่วงแรกจะอยู่ใน10 สัปดาห์ของการตั้งครรภ์ ในช่วงเวลานี้, เซลล์จะเริ่มแยกระบบต่างๆ ของร่างกาย มีการสร้างพื้นฐานของอวัยวะ, ร่างกายและระบบประสาท. ในช่วงท้ายของตัวอ่อนนั้นจะเริ่มมีมือ,ตา,ปากและหูเริ่มเป็นรูปเป็นร่างขึ้น ในช่วงเวลานี้ มีการพัฒนาโครงสร้างที่สำคัญที่จะใช้ดูแลตัวเอ็มบริโอ, รวมทั้ง รก([[placenta]])และ สายสะดือ([[umbilical cord]]) [[placenta|รก]]นั้นจะเชื่อมกับผนังมดลูกเพื่อให้ตัวเอ็มบริโอได้ดูดซึมอาหาร รวมถึงการกำจัดของเสีย และแลกเปลี่ยนก๊าซผ่านทางเลือดของแม่ [[umbilical cord|สายสะดือ]] คือสายเชื่อมต่อระหว่างรกกับตัวเอ็มบริโอหรือทารกในครรภ์
 
หลังจากอายุครรรภ์ 10 สัปดาห์, เอ็มบริโอได้กลายเป็น[[fetus|ทารก]]แทนแล้วนั้น นี่คือจุดเริ่มต้นทารกในครรภ์, ความเสี่ยงในการแท้งหรือการคลอดก่อนกำหนดจะลดลงอย่างรวดเร็ว,<ref name=sharply>
*[[Lennart Nilsson]], [[A Child Is Born (book)|A Child is Born]] 91 (1990): at eight weeks, "the danger of a miscarriage … diminishes sharply."
*"[http://www.womens-health.co.uk/miscarr.asp Women's Health Information]", Hearthstone Communications Limited: "The risk of miscarriage decreases dramatically after the 8th week as the weeks go by." Retrieved 2007-04-22.</ref> เมื่อเติบโตจากเอ็มบริโอเป็นทารกจะมีขนาดความยาวประมาณ 30&nbsp;มิลลิเมตร(1.2&nbsp;นิ้ว) , เรามองเห็นหัวใจทารกจากการอัลตราซาวนด์ ดูความเคลื่อนไหว และพัฒนาการต่างๆในระหว่างการตั้งครรภ์ของทารก, รวมไปถึงระบบของร่างกายและโครงสร้างในช่วงต้นที่ตัวอ่อนพัฒนาเป็นทารก. อวัยวะเพศจะเริ่มปรากฏขึ้นในเดือนที่ 3 ของของการตั้งครรภ์ ทารกในครรภ์ยังคงเติบโตทั้งน้ำหนักและขนาดตัว, แม้ว่าการเติบโตทางกายนั้นหลักๆจะอยู่ในช่วงสัปดาห์สุดท้ายของการตั้งครรภ์
 
[[brain activity|การทำงานของสมอง]] มีการตรวจพบได้ในระหว่างช่วงสัปดาห์ที่ 5 และ สัปดาห์ที่ 6 ของการตั้งครรภ์, แม้ว่านี่จะเป็นการพิจารณาแบบดั่งเดิมเกี่ยวกับการทำงานของระบบประสาทเป็นจุดกำเนิดของระบบความคิด เป็นสิ่งที่ต้องพัฒนามากต่อไปของการตั้งครรภ์ ระบบประสาทเริ่มต้นที่สัปดาห์ที่ 17 , และไปสัปดาห์ที่ 28 ระบบประสาทจะเริ่มพัฒนาทวีคูณไปจนถึง 3-4 เดือนหลังจากทารกเกิด<ref>{{cite book|last=Illes|first=ed. by Judy|title=Neuroethics : defining the issues in theory, practice, and policy|year=2008|publisher=Oxford University Press|location=Oxford|isbn=9780198567219|pages=142|url=http://books.google.ca/books?id=m7USFu5Z0lQC&pg=PA142|edition=Repr.}}</ref>
 
<center><gallery>
Image:6 weeks pregnant.png|เอ็มบริโอ 4 สัปดาห์หลังจากปฏิสนธิ<ref>[http://www.3dpregnancy.com/static/pregnancy-week-6.html 3D Pregnancy] (Image from gestational age of 6 weeks). Retrieved 2007-08-28. A rotatable 3D version of this photo is available [http://www.3dpregnancy.com/rotatable/6-weeks-pregnant.html here], and a sketch is available [http://www.3dpregnancy.com/pictures/pregnancy-week-6.html here].</ref>
Image:10 weeks pregnant.png|ทารกในครรภ์ 8 สัปดาห์หลังจากปฏิสนธิ<ref>[http://www.3dpregnancy.com/static/pregnancy-week-10.html 3D Pregnancy] (Image from gestational age of 10 weeks). Retrieved 2007-08-28. A rotatable 3D version of this photo is available [http://www.3dpregnancy.com/rotatable/10-weeks-pregnant.html here], and a sketch is available [http://www.3dpregnancy.com/pictures/pregnancy-week-10.html here].</ref>
Image:20 weeks pregnant.png|ทารกในครรภ์ at 18 สัปดาห์หลังจากปฏิสนธิ<ref>[http://www.3dpregnancy.com/static/pregnancy-week-20.html 3D Pregnancy] (Image from gestational age of 20 weeks). Retrieved 2007-08-28. A rotatable 3D version of this photo is available [http://www.3dpregnancy.com/rotatable/20-weeks-pregnant.html here], and a sketch is available [http://www.3dpregnancy.com/pictures/pregnancy-week-20.html here].</ref>
Image:40 weeks pregnant.png|ทารกในครรภ์ at 38 สัปดาห์หลังจากปฏิสนธิ<ref>[http://www.3dpregnancy.com/static/pregnancy-week-40.html 3D Pregnancy] (Image from gestational age of 40 weeks). Retrieved 2007-08-28. A rotatable 3D version of this photo is available [http://www.3dpregnancy.com/rotatable/40-weeks-pregnant.html here], and a sketch is available [http://www.3dpregnancy.com/pictures/pregnancy-week-40.html here].</ref>
</gallery></center>
<center><gallery>
Image:Month 1.svg|ความสัมพันธ์ขนาดครรภ์ 1 เดือน (ภาพอย่างง่าย)
Image:Month 3.svg|ความสัมพันธ์ขนาดครรภ์ 3 เดือน (ภาพอย่างง่าย)
Image:Month 5.svg|ความสัมพันธ์ขนาดครรภ์ 5 เดือน (ภาพอย่างง่าย)
Image:Month 9.svg|ความสัมพันธ์ขนาดครรภ์ 9 เดือน (ภาพอย่างง่าย)
</gallery></center>
 
===การเปลี่ยนแปลงของมารดา===
{{Main|Maternal physiological changes in pregnancy}}
[[File:Breast changes during pregnancy 1.png|thumb|การเปลี่ยนแปลงของเต้านมของผู้หญิงในระหว่างตั้งครรภ์ ลานนมจะมีขนาดใหญ่และสีคล้ำขึ้น]]
ในระหว่างตั้งครรภ์ผู้หญิงจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยา([[physiology|physiological]]) มากมาย ซึ่งเป็นเรื่องปกติ รวมไปถึงหัวใจและหลอดเลือด([[cardiovascular]]) , โลหิตวิทยา([[hematology|hematologic]]), ระบบการเผาผลาญ([[metabolism|metabolic]]), ไต([[renal]]) และระบบทางเดินหายใจ([[respiration (physiology)|respiratory]]) การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้สำคัญอย่างมากในกรณีที่มีภาวะโรคแทรกซ้อน ร่างกายจะต้องเปลี่ยนทั้งสรีระวิทยาและร่างกายจะต้องรักษาความสมดุลกลไกของร่างกายไว้ให้คงที่เพื่อเตรียมไว้ให้ทารกระหว่างตั้งครรภ์ การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำตาลในเลือด, การหายใจและระดับการเต้นของหัวใจ ระดับฮอร์โมนที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดการตั้งครรภ์ มีการระงับการทำงานของแกนการประสานงานระบบประสาท(hypothalamic axis) และการมาของรอบประจำเดือน
 
[[fetus|ทารก]]เมื่อยู่ในครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์แล้วจะดูเหมือนเป็นการปลูกถ่ายสิ่งมีชีวิต([[allograft]]) ได้เสร็จสมบูรณ์แต่ก็ดูเหมือนเป็นสิ่งผิดปกติของหญิงตั้งครรภ์,เพราะมีความแตกต่างทางพันธุ์กรรมจากผู้หญิง.<ref name=clark>{{cite journal |author=Clark DA, Chaput A, Tutton D |title=Active suppression of host-vs-graft reaction in pregnant mice. VII. Spontaneous abortion of allogeneic CBA/J x DBA/2 fetuses in the uterus of CBA/J mice correlates with deficient non-T suppressor cell activity |journal=J. Immunol. |volume=136 |issue=5|pages=1668–75 |date=March 1986 |pmid=2936806 |url=http://www.jimmunol.org/cgi/pmidlookup?view=long&pmid=2936806}}</ref> เหตุผลหลักๆ ก็คือ เมื่อการตั้งครรภ์สำเร็จแล้วระบบภูมิคุ้มกันของแม่จะมีความทนทานมากขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์ ระบบภูมิคุ้มกันที่เพิ่มขึ้นมากในการตั้งครรภ์นี้อาจจะทำให้ร่างกายอ่อนแอและเกิดความรุนแรงของโรคติดเชื่อ([[infectious diseases]])บางชนิด
 
การตั้งครรภ์จะแบ่งออกเป็น 3 ช่วง หรือ 3 ไตรมาส, ในแต่ละไตรมาสเวลาประมาณ 3 เดือน .<ref>[http://www.collinsdictionary.com/dictionary/english/trimester trimester]. CollinsDictionary.com. Collins English Dictionary – Complete & Unabridged 11th Edition. Retrieved 26 November 2012.
</ref><ref>[http://www.thefreedictionary.com/trimester thefreedictionary.com > trimester] Citing:
*The American Heritage® Dictionary of the English Language, Fourth Edition, copyright 2000
</ref> สูตินรีแพทย์กำหนดแต่ละไตรมาสเป็นเวลา 14 สัปดาห์,รวมทั้งหมด 42 สัปดาห์,แม้ว่าเฉลี่ยเวลาตั้งครรภ์จริงจะอยู่ที่ 40 สัปดาห์ก็ตาม<ref>Cunningham, et al., (2010). Williams Textbook of Obstetrics, chapter 8.</ref> ไม่มีกฏที่เคร่งครัดอะไรกับอาการที่แตกต่างออกไปจากนี้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการอธิบายในโอกาสต่อไป
 
====ไตรมาสแรก====
[[Image:2917 Size of Uterus Throughout Pregnancy-02.jpg|thumb|upright|มดลูกจะมีการเปลี่ยนแปลงขนาดตามระยะเวลาการตั้งครรภ์แต่ละไตรมาส]]
[[Minute ventilation]] จะเพิ่มขึ้น 40% ในไตรมาสแรก.<ref name="pmid11316633">{{cite journal | author = Campbell LA, Klocke RA | title = Implications for the pregnant patient | journal = American Journal of Respiratory and Critical Care Medicine | volume = 163 | issue = 5 | pages = 1051–54 | date = April 2001 | pmid = 11316633 | doi = 10.1164/ajrccm.163.5.16353 }}</ref> ครรภ์จะโตขึ้นเท่าลูกมะนาวในช่วง 8 สัปดาห์ อาการและลำบากของการตั้งครรภ์หลายๆ อย่างจะปรากฏขึ้นในไตรมาสแรก([[symptoms and discomforts of pregnancy]]) ซึ่งจะอธิบายในส่วนต่อมา<ref>http://www.nhs.uk/conditions/pregnancy-and-baby/pages/pregnancy-weeks-4-5-6-7-8.aspx#close</ref>
 
====ไตรมาสที่สอง====
[[File:Pregnancy 26 weeks 1.jpg|upright|thumb|ในตอนปลายของไตรมาสที่สอง,มดลูกขยายจนเห็นได้ชัดจนเห็น"เด็กดิ้น". แม้ว่าหน้าอกจะได้รับการพัฒนาตั้งแต่แรกของการตั้งครรภ์ แต่ความเปลี่ยนแปลงจะปรากฏชัดในไตรมาสนี้]]
สัปดาห์ที่ 13 ถึง 28 ของการตั้งครรภ์จะเรียกว่าไตรมาส 2 ผู้หญิงส่วนใหญ่จะเริ่มชีวิตชีวาในช่วงนี้, อาการวิงเวียนในตอนเช้าและอาการเจ็บป่วยจะค่อยๆ จางหายไป เมื่อมีทารกแล้วมดลูกสามารถโตได้ถึง 20 เท่าจากขนาดปกติในระหว่างตั้งครรภ์
 
แม้ว่าทารกเริ่มจะมีการเคลื่อนไหวและใช้เวลากับการสร้างอวัยวะต่างๆของร่างกายในช่วงไตรมาสแรก ในไตรมาสที่สองทารกจะเริ่มมีเคลื่อนไหวที่เรียกได้ว่า "[[quickening|รวดเร็วขึ้น]]", จนรู้สึกได้ ซึ่งมักจะเริ่มรู้สึกถึงการเคลื่อนไหวของทารกในเดือนที่สี่, และรู้สึกมากขึ้นเป็นพิเศษในช่วงสัปดาห์ที่ 20 ถึง 21หรือหญิงที่เคยตั้งครรภ์มาก่อนจะรู้สึกได้ในสัปดาห์ที่ 19 แต่มันก็เป็นเรื่องธรรมดาที่หญิงตั้งครรภ์บางคนจะไม่รู้สึกถึงการเคลื่อนไหวของทารกจนกระทั่งเวลาผ่านมา ในช่วงไตรมาสที่ 2, หญิงตั้งครรภ์ส่วนใหญ่จะเริ่มสวม[[maternity clothes|ชุดคลุมท้อง]]
 
====ไตรมาสที่สาม====
[[Image:Bumm 123 lg.jpg|thumb|มดลูกขยายจนมีขนาดใหญ่และท้องของผู้หญิงก็ใหญ่ขึ้นมาก.ดูจากภาพด้านซ้ายจะแสดงขนาดของแต่ละเดือน, ส่วนภาพด้านขวาจะแสดงให้เห็นช่วง 4 สัปดาห์สุดท้ายของการตั้งครรภ์ ในช่วงท้ายของการตั้งครรภ์มดลูกจะลดต่ำลง]]
น้ำหนักที่จะขึ้นในไตรมาสสุดท้ายนี้ ซึ่งเป็นน้ำหนักที่ขึ้นมากที่สุดในตลอดการตั้งครรภ์. ท้องของหญิงตั้งครรภ์เริ่มลดเนื่องมาจากทารกเริ่มเคลื่อนต่ำลงตำแหน่งที่พร้อมสำหรับการเกิด ในช่วงไตรมาสที่สอง, ช่องท้องของหญิงตั้งครรภ์จะอยู่ในสภาพที่ตั้งออกมามาก แต่ในช่วงไตรมาสที่สามจะเคลื่อนตัวลงมาค่อนข้างต่ำ และท้องผู้หญิงสามารถสามารถยกขึ้นและลงได้ ทารกในครรภ์สามารถเคลื่อนไหวย้ายไปมาได้จนแม่รู้สึกได้ การเคลื่อนไหวของทารกที่แข็งแรงรวดเร็วจนทำให้เกิดความเจ็บปวดกับหญิงตั้งครรภ์ได้ สะดือ([[navel]])ของหญิงตั้งครรภ์อาจจะนูนขึ้นได้เนื่องจากการขยายช่องท้อง([[abdomen]])ของเธอ
 
ส่วนที่กว้างที่สุดของศรีษะ([[Head engagement]]) ของทารกในครรภ์นำศรีษะลง([[cephalic presentation]]), การหายใจจะช่วยบรรเทาความดันของช่องท้องส่วนบนได้ นอกจากนี้ยังบรรเทาความรุนแรงของกระเพาะปัสสวะที่มีขนาดเล็กลง และเพิ่มความดันในอุ้งเชิงกรานและทวารหนัก
 
ในช่วงไตรมาสที่สาม กิจกรรมและตำแหน่งการนอนของมารดาอาจมีผลต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์อันเนื่องมาจากระบบการหมุนเวียนของเลือดมีพื้นที่จำกัด ตัวอย่างเช่น มดลูกในครรภ์ที่มีการขยายตัวขึ้นมีผลการไหลเวียนของโลหิตโดยมีการบีบการทำงานของหลอดเลือดดำ([[vena cava]])ลดต่ำลง, โดยการนอนตะแคงตำแหน่งด้านซ้ายปรากฏว่าสามารถให้ออกซิเจนสู่ทารกได้ดีกว่า.<ref name="pmid21673002">{{cite journal | author = Stacey T, Thompson JM, Mitchell EA, Ekeroma AJ, Zuccollo JM, McCowan LM | title = Association between maternal sleep practices and risk of late stillbirth: a case-control study | journal = BMJ (Clinical research ed.) | volume = 342 | pages = d3403 | date = Jun 14, 2011 | pmid = 21673002 | pmc = 3114953 | doi = 10.1136/bmj.d3403 }}</ref>
 
===ระยะเวลา===
ระยะห่างของช่วงเวลาที่สำคัญของการตั้งครรภ์ขึ้นอยู่กับวันเริ่มต้น
 
การวัดจะอ้างจากกลุ่ม([[reference group]])ของหญิงตั้งครรภ์ที่มีรอบของประจำเดือน([[menstrual cycle]]) 28 วัน และเป็นวันเริ่มทางธรรมชาติในการคลอดบุตร ความหมายคือ ช่วงระยะเวลาของการตั้งครรภ์จะอยู่ช่วงประมาณ 283.4 วันของอายุครรภ์([[gestational age]]) โดยเริ่มการนับคือวันแรกของการมีประจำเดือนครั้งสุดท้าย([[last menstrual period]]) ที่จะต้องจดจำได้โดยแม่, และ 280.6 วันโดยการประมาณการอายุครรภ์จากการวัดเวลาอัลตราซาวนด์การคลอดบุตร([[obstetric ultrasound]])ของเส้นผ่าศูนย์กลางความยาวของกระโหลกศรีษะของทารกในครรภ์ ([[fetal biparietal diameter]] ย่อว่า BPD) ในไตรมาสที่สอง<ref name=Kieler2003/> ส่วนขั้นตอนวิธีการอื่นนั้นต้องคำนึงถึงตัวแปรที่มีความหลากหลายอื่นๆ เช่่น เป็นลูกคนแรกหรือเป็นลูกคนที่เท่าไหร่ (เช่น หญิงตั้งครรภ์ที่เป็น ผู้ที่คลอดบุตร/ตั้งครรภ์ครั้งแรก(primipara) หรือผู้ที่คลอดบุตรมาแล้วหลายครั้ง/ตั้งครรภ์มาแล้วหลายครั้ง([[multipara]]) เชื้อชาติของ,อายุ, ระยะของรอบเดือนและความสม่ำเสมอของมารดา) แต่ข้อมูลเหล่านี้ก็ไม่ค่อยได้ใช้ในสำหรับผู้ที่เชี่ยวชาญด้านสุขภาพ. เพื่อให้มีสิ่งอ้างอิงถึงมาตรฐาน ระยะเวลาของการตั้งครรภ์โดยปกติทั่วไปคือ 280 วัน (หรือ 40 สัปดาห์) ของอายุครรภ์
 
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน([[standard deviation]]) คือ 8-9 วันเป็นวันที่ครบรอบการคำนวณเป็นวิธีการที่ถูกต้องที่สุด ความหมายก็คือ น้อยกว่าร้อยละ 5 ของการเกิด เกิดในวันที่ครบ 40 สัปดาห์ของอายุครรภ์ มีร้อยละ 50 เกิดภายในสัปดาห์ของช่วงระยะเวลานี้ และประมาณร้อยละ 80 ภายใน 2 สัปดาห์<ref name=Kieler2003>{{cite journal |author=Dr H. Kieler, O. Axelsson, S. Nilsson, U. Waldenströ|title=The length of human pregnancy as calculated by ultrasonographic measurement of the fetal biparietal diameter|journal=Ultrasound in Obstetrics & Gynecology|pages=353–357|volume=6|issue=5 |year=1995|doi=10.1046/j.1469-0705.1995.06050353.x|pmid=8590208}}</ref>เป็นการประมาณของวันที่ครบกำหนดคลอด,แอพพลิเคชั่นที่อยู่บนมือถือ([[mobile app]]s) มีความสอดคล้องกับการประมาณการแบบอื่นๆ และมีความถูกต้องกับปีอธิกสุรทิน([[leap year]] คือวันที่เดือนกุมภาพันธ์มี 29 วัน) ในขณะที่วงล้อตั้งครรภ์ที่ทำจากกระดาษสามารถแตกต่างจากกันโดย 7 วันและมักจะไม่ถูกต้องนักสำหรับปีอธิกสุรทิน <ref name="pmid24036402">{{cite journal | author = Chambliss LR, Clark SL | title = Paper gestational age wheels are generally inaccurate | journal = Am. J. Obstet. Gynecol. | volume = 210 | issue = 2 | pages = 145.e1–4 | year = 2014 | pmid = 24036402 | doi = 10.1016/j.ajog.2013.09.013 }}</ref>
 
ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจะใช้กฏ [[Naegele's rule]] กันมาก(กฏนี้มักจะใช้กับผู้ที่มีประจำเดือนมาสม่ำเสมอและไม่ได้คุมกำเนิด) ซึ่งได้รับการพัฒนาในช่วงศตวรรษที่ 19. การคำนวณวันครบกำหนดคาดมาจากวันแรกของรอบระยะเวลาที่ผ่านมาปกติประจำเดือน (LMP ย่อมากจาก Last menstrual period[ช่วงที่มีประจำเดือนครั้งสุดท้าย] หรือ LNMP ย่อมาจาก Last&nbsp;normal&nbsp;menstrual period[ช่วงที่มีประจำเดือนครั้งสุดท้ายปกติ]) โดยไม่คำนึงถึงปัจจัยที่รู้กันโดยอาจจะคลาดเคลื่อน เช่น ความสั้นยาวของรอบของประจำเดือน การตั้งครรภ์ปกติโดยมากจะอยู่ที่ 40 สัปดาห์ ตามวิธีการ LNMP-based method เช่น สมมติว่าผู้หญิงมีความยาวรอบประจำเดือนตามที่คาดการณ์ไว้ 28 วันและการรตั้งครรภ์จะอยู่ในวันที่ 14 ของรอบนั้น
 
การวัดจากการนับวันที่ไข่ตกนั้น([[ovulation]]) การเกิดโดยเฉลี่ยจะประเมินให้เป็น 268 วัน (38 สัปดาห์กับอีก 2 วัน), มีค่าสัมประสิทธิ์([[coefficient of variation]])ของการเปลี่ยนแปลงอยู่ที่ 3.7%.<ref name="pmid23922246">{{cite journal | author = Jukic AM, Baird DD, Weinberg CR, McConnaughey DR, Wilcox AJ | title = Length of human pregnancy and contributors to its natural variation | journal = Hum. Reprod. | volume = 28 | issue = 10 | pages = 2848–55 | year = 2013 | pmid = 23922246 | doi = 10.1093/humrep/det297 }}</ref>
 
ความแม่นยำของวันที่ในการตั้งครรภ์นั้นมีความสำคัญมาก, เพราะมันจะถูกนำมาใช้ในการคำนวณผลของการทดสอบการคลอดต่างๆ ([[Prenatal diagnosis|prenatal tests]]), (ตัวอย่างคือผล [[triple test]] ซึ่งเป็นการตรวจเลือดสตรีตั้งครรภ์เพื่อตรวจกรองภาวะทารกผิดปกติ) ซึ่งมีผล([[Induction (birth)|induce]])กับการที่ต้องตัดสินใจในกระบวนการคลอด ถ้าทารกเลยกำหนดเวลาตั้งครรภ์ นอกจากนี้ ถ้าเปรียบเทียบประจำเดือนครั้งสุดท้ายและการอัลตร้าซาวด์ผลของการครบกำหนดช้าเร็วของอายุครรภ์ต่างกัน นั่นอาจหมายความว่าการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ช้าผิดปกติจึงต้องมีการตรวจสอบอย่างใกล้ชิด
 
ขั้นตอนข้อกำหนดทางกฏหมายของการตั้งครรภ์กำหนดได้ว่าหากมีการเริ่มต้นตั้งแต่ทารกเจริญเติบโตในครรภ์([[fetal viability]]) ซึ่งมีความแตกต่างกันทั่วโลก บางครั้งก็รวมไปถึงน้ำหนักและทั้งอายุครรภ์.<ref name=AIHW-2012>{{cite web|last=Li|first=Z|title=Australia's Mothers and Babies 2010|url=http://www.aihw.gov.au/WorkArea/DownloadAsset.aspx?id=60129542372|work=Perinatal statistics series no. 27. Cat. no. PER 57|publisher=Australian Institute of Health and Welfare National Perinatal Statistics Unit, Australian Government|accessdate=4 July 2013|coauthors=Zeki, R; Hilder, L; Sullivan, EA|year=2012}}</ref> นอร์เวย์เริ่มที่ครรภ์ 16 สัปดาห์,อเมริกาและออสเตรเลียเริ่มที่ 20 สัปดาห์,อังกฤษเริ่มที่ครรภ์ 24 สัปดาห์และอิตาลีกับเสปนเริ่มที่ 26 สัปดาห์.<ref name="AIHW-2012"/><ref name=Mohangoo-2013>{{cite journal | author = Mohangoo AD, Blondel B, Gissler M, Velebil P, Macfarlane A, Zeitlin J | title = International comparisons of fetal and neonatal mortality rates in high-income countries: should exclusion thresholds be based on birth weight or gestational age? | journal = PLoS ONE | volume = 8 | issue = 5 | pages = e64869 | year = 2013 | pmid = 23700489 | pmc = 3658983 | doi = 10.1371/journal.pone.0064869 | editor1-last = Wright | editor1-first = Linda }}</ref><ref name=RCOG-late-abortion>{{cite web|last=Royal College of Obstetricians and Gynaecologists UK|title=Further Issues Relating to Late Abortion, Fetal Viability and Registration of Births and Deaths|url=http://www.rcog.org.uk/womens-health/clinical-guidance/further-issues-relating-late-abortion-fetal-viability-and-registrati|publisher=Royal College of Obstetricians and Gynaecologists UK|accessdate=4 July 2013|date=April 2001}}</ref>
 
====ทารกที่คลอดก่อนกำหนดและทารกที่อายุครรภ์เกินกำหนด====
{{Further|Preterm birth|Postterm pregnancy}}
{{anchor|Term}}
การตั้งครรภ์ที่ถือว่า "ครบกำหนด" หมายถึงอายุครรภ์ 37 สัปดาห์จึงจะถือว่าสมบูรณ์ (ซึ่งจะถือว่าอยู่ในช่วงจากสัปดาห์ที่ 37 ไปสัปดาห์ที่ 38 ของการตั้งครรภ์), แต่น้อยกว่า 42 สัปดาห์ของอายุครรภ์ (การเปลี่ยนแปลงในสัปดาห์ที่ 42 ไปยังสัปดาห์ที่ 43 ของการตั้งครรภ์ หรือระหว่าง 259 ถึง 294 วันนับจากประจำเดือนครั้งสุดท้าย) วิทยาลัยสูตินารีแพทย์ในสหรัฐอเมริกา([[American College of Obstetricians and Gynecologists]])ได้แนะนำช่วงระยะของการตั้งครรภ์แบ่งออกเป็น<ref name=acog2013>[http://www.acog.org/About_ACOG/News_Room/News_Releases/2013/Ob-Gyns_Redefine_Meaning_of_Term_Pregnancy Ob-Gyns Redefine Meaning of "Term Pregnancy"], from [[American College of Obstetricians and Gynecologists]]. October 22, 2013</ref>
 
*ระยะแรก(Early Term): ช่วงระหว่าง 37 สัปดาห์ 0 วันและ 38 สัปดาห์ 6 วันของอายุครรภ์([[gestational age]])
*ระยะครบกำหนด(Full Term): ช่วงระหว่าง 39 สัปดาห์ 0 วันและ 40 สัปดาห์ 6 วัน ของอายุครรภ์
*ระยะตอนปลาย(Late Term): ช่วงระหว่าง 41 สัปดาห์ 0 วันและ 41 สัปดาห์ 6 วันของอายุครรภ์
 
เหตุการณ์ที่จะพิจารณาให้คลอดก่อนกำหนด([[Premature birth|preterm]]) ที่อายุครรภ์จะครบ 37 สัปดาห์(359 วัน) และเหตุการณ์ที่จะพิจารณาให้คลอดเมื่ออายุครรภ์เกินกำหนด([[Postmature birth|postterm]])ก็คือ เมื่ออายุครรภ์เกินจาก 42 สัปดาห์(294 วัน)<ref name=acog2013/><ref>{{cite web |url=http://www.preventioninstitute.sk.ca/home/Program_Areas/Maternal__Infant_Health/Definitions/ |title=Definitions |accessdate=16 January 2008 |publisher=Saskatchewan Prevention Institute. }}</ref> เมื่อการมีตั้งครรภ์เกินกว่า 42 สัปดาห์ (294 วัน) มีความเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นกับหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์เพิ่มขึ้น.<ref name="UpToDate">{{cite web |url=http://www.uptodate.com/contents/postterm-pregnancy-beyond-the-basics |title=Postterm Pregnancy (Beyond the Basics) |accessdate=24 August 2012 |last=Norwitz, MD, PhD |first=Errol R. |publisher=UpToDate, Inc.}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.medem.com/MedLB/article_detaillb.cfm?article_ID=ZZZRDLPH97C&sub_cat=2005 |title=What To Expect After Your Due Date |accessdate=16 January 2008 |author=The American College of Obstetricians and Gynecologists |date=April 2006 |work=Medem |publisher=Medem, Inc.}}</ref> ดังนั้นการตั้งครรภ์ที่ไม่ซับซ้อน, สูตินารีแพทย์มักจะกำหนดเวลาให้คลอด([[induce labour]]) ในช่วงสัปดาห์ที่ 41 ถึง 42<ref>{{cite web |url=http://www.rcog.org.uk/resources/public/pdf/rcog_induction_of_labour.pdf |title=Induction of labour – Evidence-based Clinical Guideline Number 9|accessdate=18 January 2008 |year=2001 |publisher=Royal College of Obstetricians and Gynaecologists|format=PDF |archiveurl = http://web.archive.org/web/20061230063449/http://www.rcog.org.uk/resources/public/pdf/rcog_induction_of_labour.pdf |archivedate = 30 December 2006}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.durhamobgyn.com/viewArticle?ID=336380 |title=Postdate Pregnancy |accessdate=18 January 2008 |last=Stovall, M.D. |first=Thomas G. |date=23 March 2004 |work=Durham Obstetrics and Gynecology |publisher=Durham Obstetrics and Gynecology}} {{Dead link|date=September 2010|bot=H3llBot}}</ref>
 
การคลอดก่อน 39 สัปดาห์โดยการผ่าตัดนั้น([[Caesarean section]]), แม้จะพิจารณาแล้วถือว่า "ครบกำหนด" ผลของมันก็คือการเพิ่มความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนและการเสียชีวิตของทารกก่อนที่ทารกจะเจริญเติบโตเต็มที่ เมื่อไม่มีความจำเป็นทางการแพทย์จริงๆ.<ref>{{cite web|title=Nonmedically Indicated Early-Term Deliveries|url=http://www.acog.org/Resources_And_Publications/Committee_Opinions/Committee_on_Obstetric_Practice/Nonmedically_Indicated_Early-Term_Deliveries|work=American College of Obstetricians and Gynecologists|accessdate=24 March 2013|year=2013}}</ref> เพราะว่านี่จะเป็นปัจจัยที่รวมไปถึงจะทำให้ปอดของทารกทำงานไม่เต็มที่, มีการติดเชื้อเนื่องจากระบบภูมิคุ้มกันทารกยังไม่แข็งแรง, ปัญหาในการให้อาหารเนื่องจากสมองทารกพัฒนาการช้า, และโรคดีซ่าน([[jaundice]]) ที่ทำให้เด็กตัวเหลือง ตาเหลืองเนื่องจากตับยังไม่สามารถพัฒนาหรือทำงานได้อย่างเต็มที่ บางโรงพยาบาลในประเทศสหรัฐอเมริกาได้มีการตั้งข้อสังเกตว่ามีการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้ป่วยหนัก([[neonatal intensive care unit]])ที่เป็นทารกแรกเกิดอย่างมีนัยสำคัญ หญิงตั้งครรภ์เมื่อถึงเวลาที่ครบกำหนดคลอดแล้วเพื่อความสะดวกและที่จะลดขั้นตอนเหตุผลต่างๆที่ไม่ได้มาจากแพทย์.<ref>{{cite web|url=http://www.npr.org/templates/transcript/transcript.php?storyId=138473097|title=Doctors To Pregnant Women: Wait At Least 39 Weeks|accessdate=20 August 2011|date=18 July 2011}}</ref> ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดมาจากการผ่าคลอดซึ่งจะพบได้บ่อยในอัตราการเกิด
 
เมื่อไม่นานมานี้วงการการแพทย์มีงานวิจัยที่ให้ความสำคัญกับคำศัพท์เฉพาะในการคลอดก่อนกำหนด(''preterm)'' และ การคลอดอายุครรภ์เกิดกำหนด(''postterm)'' ทารกยังโตไม่เต็มที่(''premature)'' และ ทารกคลอดเกินกำหนด(''postmature).'' การคลอดก่อนกำหนดและการคลอดเมื่ออายุครรภ์เกิดกำหนดมีความชัดเจนดังที่กล่าวไว้ด้านบน, ในภาวะที่ทารกยังโตไม่เต็มที่และทารกที่คลอดก่อนกำหนดแสดงให้เห็นถึงพัฒนาการที่ความสัมพันธ์อย่างมากกับขนาดทารกและขั้นตอนการเจริญเติบโตในช่วงระหว่างการตั้งครรภ์<ref>{{cite web |url=http://www.medterms.com/script/main/art.asp?articlekey=11895 |title=Definition of Premature birth |accessdate=16 January 2008 |publisher=Medicine.net}}</ref><ref>{{cite web |url=http://health.discovery.com/encyclopedias/illnesses.html?article=2728 |title=Premature Infant |accessdate=16 January 2008 |author=Lama Rimawi, MD |date=22 September 2006 |work=Disease & Conditions Encyclopedia |publisher=Discovery Communications, LLC.}}</ref>
===การคลอดบุตร===
{{Main|Childbirth}}