ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าแผ่นดิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ใครแก้หรือลบ ล้มเจ้า ไม่รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ พระมหากษัตริย์ไทยมีบุญคุณต่อชาติบ้านเมือง
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
เชิญรับยาที่ช่อง 2
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{นโยบาย}}
 
'''กษัตริย์''' หรือ '''พระมหากษัตริย์''' คือประมุขหรือผู้ปกครองสูงสุดของ[[รัฐ]] ในระบอบ[[สมบูรณาญาสิทธิราชย์]]หรือใน[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]] ปัจจุบันพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มีจำนวนน้อยมากซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศขนาดเล็ก พระมหากษัตริย์เป็นได้ด้วยการสืบสันตติวงศ์หรือโดยการยึดอำนาจจากพระมหากษัตริย์พระองค์เดิมแล้วสถาปนาตนเองขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์
บรรทัด 14:
 
'''กษัตริย์''' ในสังคม[[ฮินดู]] ยังหมายถึง[[วรรณะ]]ที่ 2 จาก 4 วรรณะ คือวรรณะพราหมณ์ '''วรรณะกษัตริย์''' วรรณะแพศย์ และวรรณะศูทร
 
==พระมหากษัตริย์ของไทย==
หากนับย้อนอดีตประวัติศาสตร์ไทยตั้งแต่สมัยโบราณ คำว่า ”กษัตริย์” หรือนักรบผู้ยิ่งใหญ่ ศึกษาได้จากในสมัยกรุงสุโขทัยมีการปกครองแบบพ่อปกครองลูก จะมีความใกล้ชิดกับประชาชนมาก เช่นในสมัยราชวงศ์พระร่วง กษัตริย์จะมีพระนามขึ้นต้นว่า “พ่อขุน” เรียกว่า พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ พ่อขุนรามคำแหง ในสมัยกรุงศรีอยุธยาได้รับคติพราหมณ์มาจากขอมเรียกว่า เทวราชา หรือ สมมติเทพ หมายถึง พระมหากษัตริย์ทรงเป็นเทพมาอวตารเพื่อปกครองมวลมนุษย์ ทำให้ชนชั้นกษัตริย์มีสิทธิอำนาจมากที่สุดในอาณาจักร และห่างเหินจากชนชั้นประชาชนมาก ในสมัยราชวงศ์อู่ทอง จึงมีพระนามขึ้นต้นว่า “สมเด็จ” เรียกว่า สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) สมเด็จพระราเมศวร หรือในสมัยรัตนโกสินทร์ แห่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เริ่มด้วยรัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลปัจจุบันคือรัชกาลที่ 9 ซึ่งเป็นการยกย่องเทิดทูลสถาบันองค์พระมหากษัตริย์ จึงมีพระนามขึ้นต้นว่า พระบาทสมเด็จ เช่น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9 )
ดังนั้นคำว่า “พระมหากษัตริย์ของไทย” อาจมีคำเรียกที่แตกต่างกันตามประเพณีนิยม หรือธรรมเนียมที่เคยปฏิบัติสืบต่อกันมา เช่นเรียกว่า พระราชา เจ้ามหาชีวิต เจ้าฟ้า เจ้าแผ่นดิน พ่อเมือง พระเจ้าแผ่นดิน พระเจ้าอยู่หัว หรือในหลวง ฯลฯ และพระมหากษัตริย์เป็นได้ด้วยการสืบสันตติวงศ์ หรือโดยการยึดอำนาจจากพระมหากษัตริย์พระองค์เดิมแล้วปราบดาภิเษกตนเองขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ ทั้งนี้ในการสืบสันตติวงศ์ต่อกันมาโดยเชื้อพระวงศ์ เรียกว่า พระราชวงศ์ เมื่อสิ้นสุดการสืบทอดโดยเชื้อพระวงศ์ ด้วยเหตุอื่นใดก็ตาม พระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่ จะเป็นต้นพระราชวงศ์ใหม่หรือเป็นผู้สถาปนาพระราชวงศ์
 
==พระมหากษัตริย์ไทยในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับความภาคภูมิใจของคนไทยทั้งประเทศ==
เป็นที่น่ายินดีกับคนไทยทั้งประเทศ เนื่องด้วยในวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2549 ที่ผ่านมา เป็นวันครบ 60 ปี ของกษัตริย์ไทยในการครองราชย์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช โดยรัฐบาลใช้ชื่อว่า “การจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี” ชื่อพระราชพิธี คือ “พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี” และมีชื่อพระราชพิธีภาษาอังกฤษคือ “The Sixtieth Anniversary Celebration of His Majesty’s Accession to the Throne” และประเทศที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขจากสิบสามประเทศเสด็จพระราชดำเนินมาด้วยพระองค์เอง และสิบสองประเทศทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งผู้แทนพระองค์ให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทน นับเป็นการชุมนุมของประมุขจากประเทศต่าง ๆ มากที่สุดในโลก จึงขอกล่าวได้ว่า “สำหรับประเทศไทยถือว่าเป็นปีแห่งศุภวาระมงคล ที่พระองค์ทรงครองสิริราชสมบัติมา ณ บัดนี้ ถึงมหามงคลสมัยที่จะฉลองเฉลิมพระเกียรติในการครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี อันยาวนานที่สุดยิ่งกว่าพระมหากษัตริย์พระองค์ใดในพระราชพงศาวดารในสยามประเทศ”
 
== ดูเพิ่ม ==