ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 12:
2. [[เวนทริคูลาร์ ฟิบริลเลชัน]] (หัวใจห้องล่างเต้นแผ่วระรัว) (VF หรือ V-Fib)
 
ทั้งสองภาวะนี้เป็นภาวะซึ่งหัวใจยังเต้นอยู่ แต่เต้นในจังหวะทีที่ผิดปกติจนเป็นอันตรายต่อชีวิต ใน VT เป็นภาวะที่หัวใจเต้นเร็วมากเกินไปจนไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกายได้มากพอ เมื่อเป็นมากถึงระดับหนึ่งจะกลายเป็น VF ซึ่งกระแสไฟฟ้าในหัวใจที่คอยกระตุ้นให้กล้ามเนื้อหัวใจทำงานนั้นเกิดความปั่นป่วนอย่างมากจนกล้ามเนื้อหัวใจเต้นไม่ประสานกัน ไม่เกิดเป็นกลไกสูบฉีดเลือด หากยังเป็นต่อไปกระแสไฟฟ้าหัวใจจะปั่นป่วนมากขึ้น จนหัวใจหยุดเต้น
 
เครื่อง AED ทำงานเช่นเดียวกับเครื่องกระตุกหัวใจธรรมดาอื่นๆอื่น ๆ คือไม่ได้ถูกออกแบบมาให้ช็อคหัวใจที่หยุดเต้นแล้ว (เส้นคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบนราบ) ซึ่งไม่เกิดประโยชน์ใดๆ ผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้นโดยสิ้นเชิงจะมีโอกาสรอดชีวิตได้ด้วยการนวดหัวใจและการใช้ยากระตุ้นหัวใจเท่านั้น หลังจากนั้นเมื่อเกิดเป็นคลื่นหัวใจชนิดที่สามารถช็อคไฟฟ้าได้แล้วจึงจะมีบทบาทของการช็อคหัวใจ
 
เครื่อง AED ทำงานเช่นเดียวกับเครื่องกระตุกหัวใจธรรมดาอื่นๆ คือไม่ได้ถูกออกแบบมาให้ช็อคหัวใจที่หยุดเต้นแล้ว (เส้นคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบนราบ) ซึ่งไม่เกิดประโยชน์ใดๆ ผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้นโดยสิ้นเชิงจะมีโอกาสรอดชีวิตได้ด้วยการนวดหัวใจและการใช้ยากระตุ้นหัวใจเท่านั้น หลังจากนั้นเมื่อเกิดเป็นคลื่นหัวใจชนิดที่สามารถช็อคไฟฟ้าได้แล้วจึงจะมีบทบาทของการช็อคหัวใจ
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}