ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Deweyxx (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Deweyxx (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
| ชื่ออังกฤษ = Faculty of Physical Education <br/>Srinakharinwirot university
| ภาพ = [[ไฟล์:PESWUlogo.gif|150px]]
| วันที่ก่อตั้ง = [[พ.ศ.2446]] - วันก่อตั้งโรงเรียนพลศึกษากลาง <br> [[1 เมษายน]] [[พ.ศ. 2513]] -<br> <small>(วันก่อตั้งวิทยาลัยวิชาการศึกษาพลศึกษา)</small> <br> [[17 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2532]] - <br><small>(วันก่อตั้งคณะพลศึกษา)</small>
| คณบดี = รศ.ดร.สุปราณีวิ์ ขวัญบุญจันทร์
| สีประจำคณะ = สีเขียว สีขาว สีเหลือง
บรรทัด 10:
| เว็บ = [http://pe.swu.ac.th/ pe.swu.ac.th]
| วารสารคณะ =
| สถานปฏิบัติการ = โรงฝึกพลศึกษา (ประสานมิตร) ศูนย์กีฬาสิรินทรสิรินธร (องครักษ์)
}}
 
'''คณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ''' ก่อตั้งเป็นส่วนงานหนึ่งของ[[มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]] แรกเริ่มจัดตั้งเป็น '''โรงเรียนพลศึกษากลางเมื่อ''' สังกัด[[กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)|กระทรวงธรรมการ]] ในปี [[พ.ศ. 24562462]] ซึ่งคณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒนั้น มีประวัติความเป็นมายาวนานกว่ามาที่ยาวนานกว่า [[มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]] ในอดีตมีที่ทำการอยู่ที่ สนามกีฬา[[กรีฑาสถานแห่งชาติ]] (สนามศุภชลาศัย) และเคยมีฐานะเป็น [[วิทยาเขต]] หนึ่งของ [[มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]]
 
[[ไฟล์: logoprapalabodi.jpg|150px|thumb|left|สัญลักษณ์ประจำคณะ "องค์พระพลบดี"]]
== ประวัติคณะความเป็นมา ==
จุดเริ่มต้นของการพลศึกษาในประเทศไทย เริ่มตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2446]] [[กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)|กระทรวงธรรมการ]] ได้จัดตั้งสถานฝึกหัดครูพลศึกษาขึ้นที่[[โรงเรียนมัธยมวัดราชบูรณะ]] ใช้ชื่อว่า '''ห้อง[[พลศึกษา]]กลาง''' สังกัด กรมศึกษาธิการ ต่อมาและในปี [[พ.ศ. 2462]] ได้แก้มีการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรและเปลี่ยนชื่อจาก '''ห้อง[[พลศึกษา]]กลาง''' เป็น [['''โรงเรียน]][[พลศึกษา]]กลาง'''
[[ไฟล์: juction.jpg|150px|thumb|ป้ายบอกทางในสนามศุภชลาศัย ที่เคยเป็นที่ตั้งของ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พลศึกษา (สังเกตว่าจะมีคำว่า "มศว" ห้อยท้ายตลอด)]]
 
ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2476]] [[กระทรวงศึกษาธิการ ได้ตั้ง(ประเทศไทย)|กระทรวงศึกษาธิการ]] จัดตั้ง[[กรมพลศึกษา]]ขึ้นมา และในปี [[พ.ศ. 24762479]] จากนั้นจึงโอน'''โรงเรียนพลศึกษากลาง'''เข้ามาสังกัดกรมพลศึกษาในปี [[พ.ศ. 2479]] และย้ายที่ทำการมาอยู่ที่อาคารใหม่บริเวณ[[กรีฑาสถานแห่งชาติ]](สนามศุภชลาศัย) และได้ปรับปรุงหลักสูตรเรื่อยมาจนปี [[พ.ศ. 2493]] [[กรมพลศึกษา]] ได้ปรับปรุงหลักสูตรผลิตครูพลศึกษาให้สอดคล้องกับการผลิตครูสายอื่นๆ มีหลักสูตรการเรียน 5 ปี พร้อมกับเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น '''โรงเรียนฝึกหัด[[ฝึกหัดครู]]พลศึกษา''' ต่อมาปี [[พลศึกษาพ.ศ. 2496]] กรมพลศึกษาได้จัดตั้ง '''วิทยาลัยพลศึกษา''' เพื่อเพื่อดำเนินการสอนในระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (ป.กศ.สูง) และตั้ง '''โรงเรียนฝึกหัดครูพลานามัย''' ขึ้นในปีการศึกษา 2501 เพื่อดำเนินการสอนในระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.)
เริ่มตั้งแต่ปี[[พ.ศ. 2446]] [[กระทรวงศึกษาธิการ|กระทรวงธรรมการ]]ได้จัดตั้งสถานฝึกหัดครูพลศึกษาขึ้นที่[[โรงเรียนมัธยมวัดราชบูรณะ]] ใช้ชื่อว่า ห้อง[[พลศึกษา]]กลาง สังกัด กรมศึกษาธิการ ต่อมาในปี พ.ศ. 2462 ได้แก้หลักสูตรและเปลี่ยนชื่อจาก ห้อง[[พลศึกษา]]กลาง เป็น [[โรงเรียน]][[พลศึกษา]]กลาง
 
ในปี [[พ.ศ. 2512]] ได้ยุบโรงเรียนฝึกหัดครูพลานามัย และได้ขยายหลักสูตรของวิทยาลัยพลศึกษาเป็นระดับปริญญาตรี โดยเป็นส่วนหนึ่งของ[[มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ|วิทยาลัยวิชาการศึกษา]] แต่ยังคงดำเนินการโดยกรมพลศึกษา และใช้ชื่อว่า '''วิทยาลัยวิชาการศึกษาพลศึกษา''' ซึ่งจัดตั้งในวันที่ [[1 เมษายน]] [[พ.ศ. 2513]] โดยในปี [[พ.ศ. 2514]] ได้ยุติการดำเนินการวิทยาลัยพลศึกษาในส่วนกลางและโอนวิทยาลัยวิชาการศึกษาพลศึกษา ไปให้[[มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ|วิทยาลัยวิชาการศึกษา]]ดำเนินการต่อไป
ต่อมากระทรวงศึกษาธิการ ได้ตั้ง[[กรมพลศึกษา]]ขึ้นมาในปี [[พ.ศ. 2476]] จากนั้นจึงโอนโรงเรียนพลศึกษากลางเข้ามาสังกัดกรมพลศึกษาในปี [[พ.ศ. 2479]] และย้ายที่ทำการมาอยู่ที่อาคารใหม่บริเวณกรีฑาสถานแห่งชาติ(สนามศุภชลาศัย) และได้ปรับปรุงหลักสูตรเรื่อยมาจนปี [[พ.ศ. 2493]] [[กรมพลศึกษา]]ได้ปรับปรุงหลักสูตรผลิตครูพลศึกษาให้สอดคล้องกับการผลิตครูสายอื่นๆ มีหลักสูตรการเรียน 5 ปี พร้อมกับเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น โรงเรียนฝึกหัด[[ครู]][[พลศึกษา]]
 
กาลต่อมา เมื่อวันที่ [[29 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2517]] วิทยาลัยวิชาการศึกษาพลศึกษา ได้รับการยกฐานะเป็น '''มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขต พลศึกษา''' โดยมีการดำเนินงานและใช้หลักสูตรร่วมกันกับวิทยาเขตกลางทั้งหมด โดยมีหน้าที่ผลิตครูระดับปริญญาตรี ในหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต ซึ่งประกอบด้วย 5 คณะวิชา คือ คณะพลศึกษา , คณะศึกษาศาสตร์ , คณะสังคมศาสตร์ , คณะวิทยาศาสตร์ และ คณะมนุษยศาสตร์
ในปี [[พ.ศ. 2501]] ได้เปิด โรงเรียนฝึกหัดครูพลานามัย สังกัดกองส่งเสริมพลศึกษา เนื่องจากกรมการฝึกหัดครูมีนโยบายให้ผลิตครูพลศึกษาในระดับประถมศึกษา เพราะขาดแคลนครูพลศึกษา โดยเปิดรับนักเรียนที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีหลักสูตรการเรียน 2 ปี
 
จนกระทั่งในปี [[พ.ศ. 2522]] มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีนโยบายรวมวิทยาเขตในกรุงเทพมหานครซึ่งมีอยู่ทั้งหมด 4 แห่งให้เป็นวิทยาเขตเดียวกัน (ประสานมิตร , บางเขน , ปทุมวัน , พลศึกษา) ทั้งนี้เพื่อขจัดความซ้ำซ้อนในการเปิดคณะวิชาต่างๆ เพื่อลดงบประมาณรายจ่ายและเพื่อผนึกกำลังทางวิชาการให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น โดย [[นิพนธ์ ศศิธร|ศาสตราจารย์ ดร.นิพนธ์ ศศิธร]] อธิการบดีในขณะนั้น ได้นำเรียนเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาโครงการรวมวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดย[[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 42|คณะรัฐมนตรี]] ได้มีมติเมื่อวันที่ [[3 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2523]] ให้รวมวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒในกรุงเทพมหานคร โดยมีจุดศูนย์กลางที่วิทยาเขตประสานมิตร ดังนั้นในปี [[พ.ศ. 2532]] มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พลศึกษา ได้ยุบรวมกับวิทยาเขตกลาง และจัดตั้งเป็นคณะพลศึกษา ที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ในวันที่ [[17 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2532]] จึงให้ถือว่าวันดังกล่าวเป็นวันก่อตั้งคณะพลศึกษา โดยจัดการเรียนการสอนสาขาพลศึกษา , สุขศึกษา และ นันทนาการ และในปี [[พ.ศ. 2540]] ได้รับโครงการจัดตั้งภาควิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา เป็นส่วนหนึ่งของคณะพลศึกษา และปรับเปลี่ยนเป็นภาควิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะพลศึกษา
ในปี [[พ.ศ. 2511]] คณะศึกษาศาสตร์ วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร ได้เปิดวิชาเอกพลานามัย รับผู้ที่จบประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูงเข้าศึกษาต่อ ผู้สำเร็จการศึกษาจะได้รับปริญญาการศึกษาบัณฑิต
 
ในระยะแรกที่จัดตั้งคณะพลศึกษา ได้อาศัยที่ทำการเดิมที่[[กรีฑาสถานแห่งชาติ]] และที่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร จนกระทั่งในปี [[พ.ศ. 2540]] คณะพลศึกษาได้หมดสัญญาเช่าที่ดินในกรีฑาสถานแห่งชาติ จึงทำการย้ายสถานที่ทำการ มาอยู่ที่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร เพียงแห่งเดียว
ในวันที่ [[1 เมษายน]] [[พ.ศ. 2513]] กระทรวงศึกษาธิการประกาศตั้ง วิทยาลัยวิชาการศึกษาพลศึกษา เป็นสาขาหนึ่งของวิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร ซึ่งมอบให้กรมพลศึกษาดำเนินการ
 
ในปัจจุบัน คณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีภาควิชาที่สังกัดอยู่ทั้งหมด 4 ภาควิชา ได้แก่ ภาควิชาพลศึกษา , ภาควิชาสุขศึกษา , ภาควิชาสันทนาการ และภาควิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา มีที่ทำการอยู่ 2 แห่ง คือ อาคาร 1 โรงยินคณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร และ ศูนย์กีฬาสิรินธร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ <ref>คณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ''คู่มือการศึกษาระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2552''. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. พฤษภาคม 2552</ref> โดยคณะพลศึกษา ได้จัดการเรียนการสอนให้นิสิตระดับปริญญาตรี ที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ และจัดการเรียนการสอนให้นิสิตระดับมหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต รวมถึงเป็นศูนย์ให้คำปรึกษาสำหรับนิสิตสาขาพลศึกษาและสุขศึกษา 5 ปีที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพในโรงเรียน ที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
ต่อมาเมื่อ [[29 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2517]] ได้รับการยกฐานะเป็น มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขต พลศึกษา มีหน้าที่ผลิตครูระดับปริญญาตรี หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต ประกอบด้วย 5 คณะวิชา คือ คณะพลศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์ , คณะสังคมศาสตร์ , คณะวิทยาศาสตร์ และคณะมนุษยศาสตร์
 
ในปี [[พ.ศ. 2532]] มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้ยุบวิทยาเขตรวมกับคณะพลศึกษาที่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร เป็นคณะพลศึกษา โดยมีสถานที่ตั้ง 2 แห่งคือ บริเวณสนามกีฬาแห่งชาติ และที่ประสานมิตร และในปี [[พ.ศ. 2540]] คณะพลศึกษาได้หมดสัญญาเช่าที่ดินในบริเวณ สนามกีฬาแห่งชาติ จึงทำการย้ายสถานที่มาทำการที่ประสานมิตร และได้ขยับขยายไปที่องครักษ์อีกแห่ง<ref>คณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ''คู่มือการศึกษาระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2552''. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. พฤษภาคม 2552</ref>
 
== ปรัชญาและปณิธานคณะ ==