ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การข่มขืนกระทำชำเรา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ปรับภาษา}}
{{เตือนเรื่องเพศ}}
'''การข่มขืนกระทำชำเรา''' ({{lang-en|rape}}) เป็น[[การทำร้ายร่างกายทางเพศ]]ซึ่งปกติเกี่ยวข้องกับ[[เพศสัมพันธ์]]หรือการใช้[[sexual penetration|การล่วงล้ำทางเพศ]]แบบอื่นต่อบุคคลโดยปราศจาก[[ความยินยอม]]ของบุคคลเหล่านั้น การกระทำดังกล่าวอาจโดยใช้กำลังทางกาย [[การบีบบังคับ]] การละเมิดอำนาจหรือต่อบุคคลที่ไม่สามารถให้ความยินยอมสมบูรณ์ได้ เช่น ผู้ที่หมดสติ [[ไร้ความสามารถ]]หรืออายุต่ำกว่า[[อายุที่ยอมให้มีการร่วมประเวณีได้|อายุที่ยอมให้มีการร่วมประเวณีได้ตามกฎหมาย]] คำว่า "ข่มขืนกระทำชำเรา" บางครั้งใช้แทนคำว่า "การทำร้ายร่างกายทางเพศ" ได้
 
อุบัติการณ์การข่มขืนกระทำชำเราที่ตำรวจบันทึกทั่วโลกในปี 2553 แปรผันระหว่าง 0.2 ต่อ 100,000 คนใน[[ประเทศอาเซอร์ไบจาน]] ถึง 92.9 ต่อ 100,000 คนใน[[ประเทศบอตซาวานา]] โดยมีค่า 6.3 ต่อ 100,000 คนใน[[ประเทศลิทัวเนีย]]เป็น[[มัธยฐาน]] ตามข้อมูลของสมาคมแพทย์อเมริกา (2538) ความรุนแรงทางเพศ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งการข่มขืนกระทำชำเรา ถูกพิจารณาว่าเป็นอาชญากรรมรุนแรงที่มีรายงานต่ำกว่าจริงมากที่สุด อัตราการรายงาน ดำเนินคดีและการพิพากษาลงโทษสำหรับการข่มขืนกระทำชำเราต่างกันมากตามเขตอำนาจ สถิติกระทรวงยุติธรรมสหรัฐอเมริกา (2542) ประมาณว่า 91% ของเหยื่อการข่มขืนกระทำชำเราในสหรัฐอเมริกาเป็นหญิง และ 9% เป็นชาย การข่มขืนกระทำชำเราโดยคนแปลกหน้าปกติพบน้อยกว่าการข่มขืนกระทำชำเราโดยบุคคลที่ผู้เสียหายรู้จัก และการศึกษาหลายครั้งแย้งว่าการข่มขืนกระทำชำเราในเรือนจำระหว่างชายต่อชายและหญิงต่อหญิงค่อนข้างพบบ่อยและอาจเป็นการข่มขืนกระทำชำเราแบบที่รายงานน้อยที่สุด
ไม่มีความเข้าใจที่ชัดเจนที่จะแยกระหว่างการข่มขืนกระทำชำเรา และการจู่โจมทำลายที่เกี่ยวข้องกับอวัยวะเพศของคนหนึ่งหรือทั้งสองคนที่อยู่ในเหตุการณ์ เมื่อคำว่า ”ข่มขืนกระทำชำเรา” ถูกใช้ ความเข้าใจทางอาชญากรรมจะเป็นการใช้กำลังบังคับให้ทำกิจกรรมทางเพศอย่างใดอย่างหนึ่งและให้ร่วมประเวณี ในขณะที่การกระทำของอีกคนหนึ่งเพียงแค่สอดใส่[[อวัยวะเพศชาย]]เข้าไปใน[[ช่องคลอด]]ของฝ่ายหญิงเท่านั้น ในไม่กี่ปีมานี้ ได้มีหญิงผู้กระทำผิดในฐานข่มขืนกระทำชำเราเพศชาย ครั้งนี้จึงได้มีการแบ่งแยก ระหว่างการข่มขืนกระทำชำเรา หรือขู่บังคับทางเพศ และคำจำกัดความทางกฎหมายในด้านอื่นๆ ในขอบเขตศาลบางแห่ง การข่มขืนกระทำชำเราอาจหมายถึง การที่ผู้กระทำสอดใส่วัสดุอย่างใดอย่างหนึ่ง มากกว่าการที่ใช้แค่ร่างกายของตัวเอง เข้าไปในอวัยวะเพศของคนที่เป็นเป้าหมาย ในบางแห่ง อย่างเช่น[[รัฐมิชิแกน]] [[สหรัฐอเมริกา]] ไม่ใช้คำว่า “ข่มขืนกระทำชำเรา” ในกฎหมาย แต่จะใช้คำว่า “การกระทำผิดอาชญากรรมทางเพศ” (Criminal Sexual Conduct) สำหรับการกระทำที่อาจใช้ทางคำพูดที่เกี่ยวโยงกับ “การข่มขืนกระทำชำเรา” หรือ “การล่วงละเมิดทางเพศ”
 
ไม่มีความเข้าใจที่ชัดเจนที่จะแยกระหว่างการข่มขืนกระทำชำเรา และการจู่โจมทำลายที่เกี่ยวข้องกับอวัยวะเพศของคนหนึ่งหรือทั้งสองคนที่อยู่ในเหตุการณ์ เมื่อคำว่า ”ข่มขืนกระทำชำเรา” ถูกใช้ ความเข้าใจทางอาชญากรรมจะเป็นการใช้กำลังบังคับให้ทำกิจกรรมทางเพศอย่างใดอย่างหนึ่งและให้ร่วมประเวณี ในขณะที่การกระทำของอีกคนหนึ่งเพียงแค่สอดใส่[[อวัยวะเพศชาย]]เข้าไปใน[[ช่องคลอด]]ของฝ่ายหญิงเท่านั้น ในไม่กี่ปีมานี้ ได้มีหญิงผู้กระทำผิดในฐานข่มขืนกระทำชำเราเพศชาย ครั้งนี้จึงได้มีการแบ่งแยก ระหว่างการข่มขืนกระทำชำเรา หรือขู่บังคับทางเพศ และคำจำกัดความทางกฎหมายในด้านอื่นๆ ในขอบเขตศาลบางแห่ง การข่มขืนกระทำชำเราอาจหมายถึง การที่ผู้กระทำสอดใส่วัสดุอย่างใดอย่างหนึ่ง มากกว่าการที่ใช้แค่ร่างกายของตัวเอง เข้าไปในอวัยวะเพศของคนที่เป็นเป้าหมาย ในบางแห่ง อย่างเช่น[[รัฐมิชิแกน]] [[สหรัฐอเมริกา]] ไม่ใช้คำว่า “ข่มขืนกระทำชำเรา” ในกฎหมาย แต่จะใช้คำว่า “การกระทำผิดอาชญากรรมทางเพศ” (Criminal Sexual Conduct) สำหรับการกระทำที่อาจใช้ทางคำพูดที่เกี่ยวโยงกับ “การข่มขืนกระทำชำเรา” หรือ “การล่วงละเมิดทางเพศ”
การข่มขืนกระทำชำเราผู้หญิงโดยผู้ชาย เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมากที่สุด ประมาณ 91% ของเหยื่อการข่มขืนกระทำชำเราเป็นผู้หญิง, 9% เป็นผู้ชาย โดย 99% ของผู้ปฏิบัติการเป็นผู้ชาย<ref>[http://www2.ucsc.edu/rape-prevention/statistics.html สถิติการข่มขืนกระทำชำเรา] จาก UCSC Rape Prevention Education</ref>
 
== ประวัติศาตร์การข่มขืนกระทำชำเรา ==