ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยาโออิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Cutiekaze (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
 
ต่อมาในญี่ปุ่นได้เกิดคำศัพท์ใหม่แทนที่ยะโอะอิ คือคำว่า [[บอยส์เลิฟ]] (Boy's Love) ({{ญี่ปุ่น|ボーイズラブ|Booizu Rabu}}) แม้ชื่อจะบอกว่าเป็นความรักของเด็กหนุ่ม แต่ในความเป็นจริงแล้วสามารถใช้ได้กว้างตั้งแต่เรื่องราวระหว่างวัยรุ่นไปจนถึงคนสูงวัย แต่มีศัพท์เฉพาะ คือ ความสัมพันธ์กับชายวัยเยาว์ เรียก '''[[โชะตะคอน]]''' ถ้าเป็นชายสูงอายุเรียก '''[[โอจิคอน]]''' {{cn-span|ส่วนในต่างประเทศเช่น [[สหรัฐอเมริกา]] [[ไทย]] ยังคงนิยมใช้คำว่า ยะโอะอิ}}
 
== ที่มา ==
คำว่า yaoi กำเนิดครั้งแรงช่วงปลายยุค 70 โดยซาคาตะ ยาซุโกะและฮัตสุ รินโกะ ที่ต้องการล้อเลียนโครงสร้างของงานเขียนโคลงจีนยุคเก่าซึ่งต้องประกอบด้วย ki (introduction บทนำ), syo (development ดำเนินเรื่อง), ten (transition จุดผกผัน), และ ketsu (conclusion บทสรุป) โดยสร้างงานที่
 
'''Yamanashi''' (no climax-ไม่มีไคลแมกซ์)
 
'''Ochinashi''' (no point-ไม่มีประเด็น)
 
'''Iminashi''' (no meaning-ไม่มีความหมาย)
 
กลายมาเป็นงานโดจินชิที่ชื่อ Loveri
 
ต่อมาในยุค 80 คำว่า yaoi ได้หมายความถึงงานการ์ตูนล้อเลียนที่มีผู้ชายสองคนเป็นตัวเอกและเน้นความสัมพันธ์ทางเพศเป็นเนื้อหาหลัก ส่วน [[shonenai]] หมายถึงการ์ตูนที่มีผู้ชายสองคนเช่นกัน แต่เน้นความรักโรแมนติกและน่ารักอ่อนโยนกว่า ทั้ง yaoi และ shonenai ไม่ใช่การ์ตูนที่กล่าวถึงความรักของ เกย์ เลย แต่เป็นรูปแบบหนึ่งของความรักที่ "เหนือ" กว่าความรักระหว่างคนต่างเพศทั่วไป
 
แต่ถึงกระนั้นก็ตาม ต้นกำเนิดของความสัมพันธ์แบบชายกับชายในการ์ตูนไม่ได้เกิดในดงโดจินชิเป็นที่แรก แต่กลับเกิดในงานการ์ตูนที่มีพิมพ์ขายแบบเป็นล่ำเป็นสัน เรื่องนั้นคือ Kaza to Ki no Uta หรือ A Poem of Wind and Trees งานเขียนของทาเคมิยะ เคย์โกะ ซึ่งตีพิมพ์ในนิตยสารการ์ตูนผู้หญิงในปี 1976 เรื่องนี้เป็นเรื่องของกิลเบิร์ต คอคโต เด็กหนุ่มรูปงามในโรงเรียนประจำแห่งหนึ่งที่มีอันต้องร่วมหอลงเตียงกับเพื่อนหนุ่มรูมเมท
 
ต่อมาในปี 1978 นิตยสาร Comic June (อ่านว่าจู-เน่) ได้วางแผงช่วงเวลาเดียวกับที่กลุ่มของซาคาตะคิดค้นคำว่า yaoi ถือเป็นนิตยสารเล่มแรกที่มีแต่เรื่องชายกับชาย<ref>[http://ffman.exteen.com/yaoi]</ref>
 
== ศัพท์เทคนิค ==
เส้น 12 ⟶ 29:
=== seme และ uke ===
ใช้แบ่งแยกสถานะในกรณีของ yaoi และ yuri
* seme (เซะเมะ) คือ ฝ่ายรุก มักมีรูปร่างสูงใหญ่
* uke (อุเกะ) คือ ฝ่ายรับ มักมีหน้าตาและรูปร่างเหมือนผู้หญิง
 
เส้น 24 ⟶ 41:
== ดูเพิ่ม ==
* [[ยุริ (แนว)|ยุริ]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:ศัพท์ในการ์ตูนญี่ปุ่น]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ยาโออิ"