ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทฤษฎีโฟลจิสตัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kamisamaks (คุย | ส่วนร่วม)
Kamisamaks (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มลิงค์ไปยังบทความอื่นๆ+เนื้อหา
บรรทัด 2:
'''ทฤษฎีโฟลจิสตัน''' ({{lang-en|phlogiston theory}}) เป็นทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ที่ล้าสมัย กล่าวถึงโฟลจิสตันที่มีอยู่ภายในร่างของสิ่งต่างๆซึ่งจะปรากฏขึ้นมาเมื่อเกิดการเผาไหม้
โดยชื่อโฟลจิสตันนี้ได้มาจาก[[ภาษากรีกโบราณ]] ที่ว่า φλογιστόν phlogistón (การเผาไหม้ขึ้น) โดยทฤษฎีนี้ถูกกล่าวถึงครั้งแรกในปี พ.ศ.2210
โดย Johann Joachim Becher โดน[[ทฤษฎี]]นี้พยายามอธิบายเกี่ยวกับ[[การสันดาป]] และการเกิด[[สนิม]]ซึ่งในปัจจุบันรู้จักในนามของปรากฏการ์ณออกซิเดชัน
 
== เนื้อหาของทฤษฎี ==
บรรทัด 14:
ทฤษฏีฟลอจิสตันถูกกล่าวถึงครั้งแรกในปี ค.ศ.1667 โดย Johann Joachim Becher นายแพทย์ชาวเยอรมันได้นำความรู้ทางการแพทย์ของเขา
มาเผยแพร่และต่อมาก็ได้พัฒนาเป็นทฤษฎีฟลอจิสตันในที่สุดโดยในหนังสือของ Becher กล่าวถึงทฤษฎีธาตุทั้ง 4 ที่เดิมมี 4 ธาตุคือดิน,อากาศ,ไฟ และน้ำ
ตามหลักของ[[อาริสโตเติล]]แต่ Becher ได้ดัดแปลงนำไฟและอากาศออกแล้วแทนที่ด้วยดิน 3 ชนิดได้แก่ terra lapidea, terra fluida, and terra pinguis
โดย Becher เชื่อว่า terra pinguis เป็นปัจจัยที่สำคัญต่อการเผาไหม้อย่างหนึ่ง
ต่อมาในปี ค.ศ.1703 ศาสตราจาร์ย Georg Ernst Stahl แพทย์และนักเคมีแห่งมหาวิทยาลัย Halle ได้ทำการเปลี่ยนชื่อ terra pinguis