ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดวงจันทร์ของกาลิเลโอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wanchai108 (คุย | ส่วนร่วม)
Wanchai108 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
[[Image:Jupitermoon.jpg|thumb|200px|Montage of [[Jupiter]]'s four Galilean moons, in a composite image comparing their sizes and the size of Jupiter. From top to bottom: [[Io (moon)|Io]], [[Europa (moon)|Europa]], [[Ganymede (moon)|Ganymede]], [[Callisto (moon)|Callisto]].]]
 
'''ดวงจันทร์ของกาลิเลโอ (Galilean moons)''' คือ [[Natural satellite|ดวงจันทร์บริวาร]]ทั้ง 4 ดวงของ[[Jupiter|ดาวพฤหัสบดี]]ซึ่งถูกค้นพบโดย [[Galileo Galilei|กาลิเลโอ กาลิเลอี (Galileo Galilei)]] ในราวเดือนมกราคม ปี ค.ศ. 1610 ดวงจันทร์ทั้ง 4 ดวงเป็นดวงจันทร์ที่ใหญ่ที่สุดในบรรดา[[moons of Jupiter|ดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดี]] ชื่อของดวงจันทร์ทั้ง 4 ได้รับการตั้งชื่อตามชายาคนรักของ [[Zeus|ซูส (Zeus]]) ได้แก่ ''[[Io (mythology)|ไอโอ (Io)]]'' ''[[Europa (mythology)|ยูโรปา (Europa)]]'' ''[[Ganymede (mythology)|แกนิมิด (Ganymede)]] ''และ [[Callisto (mythology)|''คาลลิสโต (Callisto)'']] ดวงจันทร์ทั้ง 4 เป็น[[List of moons by diameter|วัตถุที่มีมวลมากที่สุด]]ใ[[Solar System|นระบบสุริยะจักรวาล]]นอกจาก[[Sun|ดวงอาทิตย์]]และดาวเคราะห์ทั้งแปดดวง มันมีเส้นผ่านศูนย์กลางที่ใหญ่กว่า[[Dwarf planet|ดาวเคราะห์แคระ]]ใดๆ ดวงจันทร์สามดวงด้านใน ได้แก่ ไอโอ ยูโรปา แกนิมิด มี[[Orbital resonance|การสั่นพ้องของวงโคจร]]ที่ 1:2:4
 
ดวงจันทร์ทั้ง 4 ดวงถูกค้นพบในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1609 ถึง 1610 เมื่อกาลิเลโอได้ปรับปรุง[[telescope|กล้องโทรทรรศน์]]ซึ่งทำให้เขาสามารถสังเกตุเห็นเทหฟากฟ้า (celestial body) ได้ชัดเจนขึ้นกว่าที่ผ่านมา<ref name=Galileo89/> การค้นพบของกาลิเลโอแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของกล้องโทรทรรศน์ในฐานะของเครื่องมือสำหรับนักดาราศาสตร์ในการช่วยให้สามารถเห็นวัตถุในอวกาศที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า สิ่งสำคัญยิ่งกว่านั้นการค้นพบที่ไม่อาจโต้แย้งถึงการโคจรของดวงดาวหรือเทหฟากฟ้ารอบสิ่งอื่นๆนอกจากโลกนี้ได้สั่นคลอนอย่างรุนแรงต่อระบบโลกของปโตเลมี ([[Geocentric model|Ptolemaic world system]]) ที่ได้รับการยอมรับในขณะนั้น ระบบโลกของปโตเลมีเชื่อว่าโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล ดาวดาวและวัตถุต่างๆโคจรรอบโลก
บรรทัด 111:
[[Image:Galilean moon Laplace resonance animation.gif|thumb|upright=1.2|The three inner Galilean moons revolve in a 4:2:1 resonance.]]
 
ไอโอเป็นดวงจันทร์ที่อยู่ด้านในสุดของกลุ่มดวงจันทร์ของกาลิเลโอ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3,642&nbsp;กิโลเมตร เป็น[[List of moons by diameter|ดวงจันทร์ที่มีขนาดใหญ่]]ที่สุดเป็นอันดับที่สี่ในระบบสุริยะจักรวาล ได้รับชื่อตาม [[Io (mythology)|Io]] นักบวชของเฮรา ([[Hera]]) ซึ่งต่อมาได้เป็นชายาคนรักของซูส ([[Zeus]]). แต่มันถูกเรียกด้วยชื่อง่ายๆว่า “Jupiter I” หรือ “ดวงจันทร์ดวงแรกของดาวพฤหัสบดี (The first satellite of Jupiter)” จนถึงราวกลางศตวรรษที่ 20<ref name="marazzini"/>
 
ไอโอมีภูเขาไฟซึ่งยังไม่ดับอยู่มากกว่า 400 ลูก จึงทำให้ไอโอเป็นดาวที่มีการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยามากที่สุดในระบบสุริยะจักรวาล<ref name=Lopes2004>{{cite journal|last=Lopes|first=R. M. C.|year=2004|title=Lava Lakes on Io: Observations of Io's Volcanic Activity from Galileo NIMS During the 2001 Fly-bys|journal=Icarus|volume=169|issue=1|pages=140–174|bibcode=2004Icar..169..140L|doi=10.1016/j.icarus.2003.11.013|display-authors=1|last2=Kamp|first2=Lucas W|last3=Smythe|first3=William D|last4=Mouginis-Mark|first4=Peter|last5=Kargel|first5=Jeff|last6=Radebaugh|first6=Jani|last7=Turtle|first7=Elizabeth P|last8=Perry|first8=Jason|last9=Williams|first9=David A|first10=R.W}}</ref> พื้นผิวของมันเป็นรอยด่างด้วยภูเขามากกว่า 100 ลูก บางลูกมีความสูงมากกว่ายอดเขาเอเวอร์เรสบนโลก ([[Mount Everest]])<ref name=Schenk2001>{{cite journal|last=Schenk|first=P.|year=2001|title=The Mountains of Io: Global and Geological Perspectives from ''Voyager'' and ''Galileo''|journal=Journal of Geophysical Research|volume=106|issue=E12|pages=33201–33222|bibcode=2001JGR...10633201S|doi=10.1029/2000JE001408|display-authors=1|last2=Hargitai|first2=Henrik|last3=Wilson|first3=Ronda|last4=McEwen|first4=Alfred|last5=Thomas|first5=Peter}}</ref> ส่วนประกอบหลักของไอโอเป็นหินซิลิกาห่อหุ้มแกนกลางซึ่งเป็นหินหลอมเหลวหรือไอออนซัลไฟด์ ซึ่งต่างจากดวงจันทร์ในระบบสุริยะชั้นนอกส่วนมากที่เป็นชั้นน้ำแข็งหนาห่อหุ้มแกนกลาง
บรรทัด 117:
ถึงแม้ว่าจะยังไม่ได้รับการพิสูจน์ จากข้อมูลล่าสุดจากยานกาลิเลโอออร์บิตเตอร์ (Galileo orbiter) ชื้ให้เห็นว่าไอโออาจจะมีสนามแม่เหล็กของมันเอง<ref>{{cite journal| last=Porco|first=C. C.|authorlink=Carolyn Porco|title=Cassini imaging of Jupiter's atmosphere, satellites, and rings|journal=Science|volume=299|pages=1541–1547|year=2003|doi =10.1126/science.1079462| pmid=12624258| issue=5612|bibcode = 2003Sci...299.1541P| display-authors=1| last2=West| first2=RA| last3=McEwen| first3=A| last4=Del Genio| first4=AD| last5=Ingersoll| first5=AP| last6=Thomas| first6=P| last7=Squyres| first7=S| last8=Dones| first8=L| last9=Murray| first9=CD| first10=TV| first11=JA| first12=A| first13=G| first14=J| first15=JM| first16=T| first17=M| first18=JJ| first19=P| first20=P| first21=T| first22=H| first23=M| first24=AR }}</ref> ไอโอมีบรรยากาศที่เบาบางมากประกอบด้วย[[sulfur dioxide|ซัลเฟอร์ไดออกไซด์]] (SO<sub>2</sub>) เป็นส่วนมาก<ref>{{cite journal| last=McEwen|first=A. S.|title=High-temperature silicate volcanism on Jupiter's moon Io|journal=Science|volume=281|pages=87–90|year=1998|doi =10.1126/science.281.5373.87| pmid=9651251| issue=5373|bibcode = 1998Sci...281...87M| display-authors=1| last2=Keszthelyi| first2=L| last3=Spencer| first3=JR| last4=Schubert| first4=G| last5=Matson| first5=DL| last6=Lopes-Gautier| first6=R| last7=Klaasen| first7=KP| last8=Johnson| first8=TV| last9=Head| first9=JW| first10=P| first11=S| first12=AG| first13=MH| first14=HH| first15=MJ }}</ref> หากมีการเก็บข้อมูลหรือตัวอย่างพื้นผิวโดยการส่งยานตรวจการณ์ (เช่นเดียวกับยานตรวจการณ์รูปร่างคล้าย[[Tank|รถถัง]]ของสภาพโซเวียต ขื่อ [[Venera]] landers) ลงจอดบนพื้นผิวของไอโอในอนาคต มันเป็นเรื่องที่ยากมากที่ยานเหล่านั้นจะสามารถอยู่รอดจากการแผ่รังสีและสนามแม่เหล็กซึ่งมีแหล่งกำเนิดจากดาวพฤหัสบดี<ref>{{cite journal|last=Fanale|first=F. P.|year=1974|title=Io: A Surface Evaporite Deposit?|journal=Science|volume=186|issue=4167|pages=922–925|bibcode=1974Sci...186..922F|doi=10.1126/science.186.4167.922|pmid=17730914|display-authors=1|last2=Johnson|first2=T. V.|last3=Matson|first3=D. L.}}</ref>
 
=== ยูโรปา (Europa) ===
{{main|Europa (moon)}}
 
ยูโรปา ดวงจันทร์ลำดับที่สองของกลุ่มดวงจันทร์ของกาลิเลโอ อยู่ใกล้ดาวพฤหัสบดีเป็นลำดับที่สองและมีขนาดเล็กที่สุดในกลุ่มดวงจันทร์ของกาลิเลโอ โดยมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3121.6 กิโลเมตร ซึ่งมีขนาดเล็กกว่าดวงจันทร์ของโลกเราเพียงเล็กน้อย ชื่อ ยูโรปา (Europa) ตั้งตาม [[Europa (mythology)|Europa]] เจ้าหญิงชาวฟีนีเซีย ([[Phoenicia]]n) ซึ่งต่อมาได้เป็นชายาคนรักของซูส ([[Zeus]]) และราชินิแห่งคริต ([[Crete]]) แต่ชื่อนี้ไม่ได้ถูกใช้กันอย่างแพร่หลายจนกระทั่งกลางศตวรรษที่ 20<ref name="marazzini"/>
 
ยูโรปาเป็นดาวที่ราบเรียบที่สุดในระบบสุริยะ<ref>{{cite web|url=http://www2.jpl.nasa.gov/galileo/moons/europa.html|title=Europa: Another Water World?|year=2001|accessdate=9 August 2007|publisher=[[NASA]], Jet Propulsion Laboratory|work=Project Galileo: Moons and Rings of Jupiter}}</ref> ด้วยชั้นของน้ำซึ่งคาดการณ์ว่าจะหนาถึง 100 กิโลเมตรห่อหุ้มแกนกลางของดาว พื้นผิวที่ราบเรียบประกอบขึ้นจากชั้นของน้ำแข็งขณะที่ส่วนที่อยู่ใต้ชั้นน้ำแข็งนั้นในทางทฤษฎีน่าจะเป็นน้ำในรูปของเหลว<ref name="EuropaAlbedo">{{cite web|url=http://www.solarviews.com/eng/europa.htm|author=Hamilton, C. J.|title=Jupiter's Moon Europa}}</ref> ผิวที่ราบเรียบและมีอายุไม่มากนั้นสนับสนุนสมมุติฐานว่ามีมหาสมุทรอยู่ภายใต้พื้นผิวซึ่งอาจเป็นที่อาศัยของสิ่งมีชีวิต ([[extraterrestrial life]])<ref>{{cite web|url=http://people.msoe.edu/~tritt/sf/europa.life.html|title=Possibility of Life on Europa|last=Tritt|first=Charles S.|accessdate=10 August 2007|publisher=Milwaukee School of Engineering|year=2002}}</ref> พลังงานความร้อนที่เกิดขึ้นจากแรงน้ำขึ้นน้ำลงช่วยทำให้น้ำอยู่ในสภาพของเหลวและเป็นแรงผลักดันให้เกิดกิจกรรมทางธรณีวิทยาบนดวงจันทร์<ref name="geology">{{cite web| url=http://geology.asu.edu/~glg_intro/planetary/p8.htm |title=Tidal Heating|accessdate=2007-10-20|work=geology.asu.edu |archiveurl = http://web.archive.org/web/20060329000051/http://geology.asu.edu/~glg_intro/planetary/p8.htm |archivedate = 2006-03-29}}</ref> สิ่งมีชีวิตอาจสามารถอาศัยอยู่บนยูโรปาภายใต้มหาสมุทรที่ถูกปกคลุมด้วยน้ำแข็งซึ่งอาจคล้ายกับสิ่งมีชีวิตบนโลกที่อาศัยบนโลก เช่น ปล่องความร้อนใต้มหาสมุทรลึก ([[hydrothermal vent]]s) หรือ ทะเลสาบวอสตอก ([[Lake Vostok]]) ในทวีปแอนตาร์กติก<ref>''[http://science.nasa.gov/newhome/headlines/ast10dec99_2.htm Exotic Microbes Discovered near Lake Vostok]'', Science@NASA (December 10, 1999)</ref> สิ่งมีชีวิตที่อาศัยในมหาสมุทรอาจคล้ายกับ[[Microorganism|จุลินทรีย์]]ที่อาศัย[[Deep ocean|ก้นมหาสมุทร]]บนโลก<ref>Jones, N.; [http://www.newscientist.com/article.ns?id=dn1647 ''Bacterial explanation for Europa's rosy glow''], NewScientist.com (11 December 2001)</ref> จนถึงขณะนี้ยังไม่มีหลักฐานที่บ่งชี้ว่ามีสิ่งมีชิวิตอยู่บนยูโรปา แต่จากความเป็นไปได้ที่มีน้ำในรูปของเหลวเป็นสิ่งเรียกร้องให้มีการส่งเครื่องมือตรวจวัดไปที่ยูโรปา<ref>{{cite web|last=Phillips|first=Cynthia|url=http://www.space.com/2954-time-europa.html|title=Time for Europa|publisher=Space.com |date=28 September 2006 |deadurl=no |accessdate=5 January 2014}}</ref>
บรรทัด 126:
รอยขีดที่ปรากฏอย่างเด่นชัดทั่วไปบนดวงจันทร์ซึ่งคือ [[albedo feature]]s เป็นรอยลึกในภูมิประเทศ มีหลุมอุกกาบาตไม่มากนักบนยูโรปาเนื่องจากภูมิประเทศมีอายุน้อยและการเปลี่ยนแปลง<ref>Arnett, B.; ''[http://www.astro.auth.gr/ANTIKATOPTRISMOI/nineplanets/nineplanets/europa.html Europa]'' (November 7, 1996)</ref> บางทฤษฎีกล่าวว่าแรงดึงดูดของดาวพฤหัสบดีเป็นต้นเหตุของรอยเหล่านี้จากการที่ยูโรปาหันด้านหนึ่งเข้าหาดาวพฤหัสบดีตลอดเวลา รวมทั้งการปะทุของน้ำจากมหาสมุทรภายใต้เปลือกน้ำแข็งทำให้ผิวของดวงจันทร์แยกออกหรือแม้แต่น้ำพุไกเซอร์ (geyser) ก็เป็นสาเหตุของรอยขีดเหล่านี้ สีแดงน้ำตาลของรอยขีดเหล่านี้ ในทางทฤษฎีคาดว่าจะเกิดจากกำมะถัน แต่นักวิทยาศาสตร์ยังไม่สามารถยืนยันได้แน่ชัดเนื่องจากยังไม่มีการส่งเครื่องมือตรวจวัดใดๆไปที่ยูโรปา<ref>{{cite web|title=Distribution of hydrate on Europa: Further evidence for sulfuric acid hydrate|url=http://www.sciencedirect.com/science?_ob=ArticleURL&_udi=B6WGF-4G9Y58G-1&_user=10&_rdoc=1&_fmt=&_orig=search&_sort=d&view=c&_acct=C000050221&_version=1&_urlVersion=0&_userid=10&md5=5cf6924793fa56559bb84c45faafd445|first1=R.W.|last1=Carlson|author2=M.S. Anderson |year=2005|accessdate=2007-12-20}}</ref> องค์ประกอบของยูโรปาส่วนใหญ่เป็นหินซิลิกา ([[silicate]] rock) และน่าจะมีแกนกลางเป็นเหล็ก ([[iron]]) มันมีบรรยากาศที่เบาบางโดยประกอบด้วยออกซิเจน ([[oxygen]]) เป็นหลัก.
 
=== แกนิมิด (Ganymede) ===
{{main|Ganymede (moon)}}
 
Ganymede, the third Galilean moon is named afterแกนิมิด theดวงจันทร์ลำดับที่สามของกลุ่มดวงจันทร์ของกาลิเลโอ mythologicalได้ชื่อตามเทพเจ้าของกรีก [[Ganymede (mythology)|Ganymede]], ทำหน้าที่ผู้ถวายพระสุทธารส (cupbearer) of the [[Greek mythology|Greek gods]] andและเป็นคนรักของซูส ([[Zeus]]'s beloved.)<ref>{{cite web| url = http://galileo.rice.edu/sci/observations/jupiter_satellites.html| title = Satellites of Jupiter| work = The Galileo Project| accessdate = 2007-11-24}}</ref> Ganymede is the แกนิมิเป็น[[List of natural satellites by diameter|largest natural satelliteดวงจันทร์ที่มีขนาดใหญ่]]ในระบบสุริยะ in the Solar System atโดยมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 5262.4 kilometersกิโลเมตร in diameter, which makes it larger than the planetมันจึงมีขนาดใหญ่กว่าดาวอังคาร ([[Mercury (planet)|Mercury]]) - although only at about half of its massแต่มีมวลเพียงครึ่งเดียวของดาวอังคาร<ref name="nineplanets.org-Ganymede">{{cite web|publisher=nineplanets.org|title=Ganymede|date=October 31, 1997|url=http://www.nineplanets.org/ganymede.html|accessdate=2008-02-27}}</ref>เนื่องจากแกนิมิดมีส่วนประกอบเป็นน้ำแข็งจำนวนมาก since Ganymede is an icy world. It is the only satellite in the Solar System known to possess aมันเป็นดาวบริวารเพียงดวงเดียวที่มีสนามแม่เหล็ก ([[magnetosphere]], likely created through) ของตัวเองซึ่งน่าจะเกิดจาก[[convectionConvection|การพาความร้อน]] within the liquid iron core.ภายในแกนกลางที่เป็นเหล็กหลอมเหลว<ref>{{cite journal|last=Kivelson|first=M.G.|title=The Permanent and Inductive Magnetic Moments of Ganymede|journal=Icarus|year=2002|volume=157|issue=2|pages=507–522507–522|doi=10.1006/icar.2002.6834| url=http://www.igpp.ucla.edu/people/mkivelson/Publications/ICRUS1572507ICRUS1572507.pdf|format=PDF|bibcode=2002Icar2002Icar..157..507K507K|author2author2=Khurana, K.K.|last3last3=Coroniti|first3first3=F.V.|display-authors=2}}</ref>
 
Ganymede is composed primarily of [[silicate|silicate rock]] and water ice, and a salt-water ocean is believed to exist nearly 200&nbsp;km below Ganymede's surface, sandwiched between layers of ice.<ref>{{cite web|url=http://www.jpl.nasa.gov/releases/2000/aguganymederoundup.html|title=Solar System's largest moon likely has a hidden ocean|accessdate=2008-01-11|date=2000-12-16|work=Jet Propulsion Laboratory|publisher=NASA}}</ref> The metallic core of Ganymede suggests a greater heat at some time in its past than had previously been proposed. The surface is a mix of two types of terrain&nbsp;– highly cratered dark regions and younger, but still ancient, regions with a large array of grooves and ridges. Ganymede has a high number of craters, but many are gone or barely visible due to its icy crust forming over them. The satellite has a thin [[oxygen]] [[atmosphere]] that includes O, O<sub>2</sub>, and possibly O<sub>3</sub> ([[ozone]]), and some [[atomic hydrogen]].<ref>{{cite journal|last=Hall|first=D.T.|title=The Far-Ultraviolet Oxygen Airglow of Europa and Ganymede|journal=The Astrophysical Journal|year=1998|volume=499|issue=1|pages=475–481| doi=10.1086/305604| bibcode=1998ApJ...499..475H|author2=Feldman, P.D.|last3=McGrath|first3=M.A.|display-authors=2|last4=Strobel|first4=D. F.}}</ref><ref>{{cite journal|last=Eviatar|first=Aharon|title=The ionosphere of Ganymede|journal=Plan.Space Sci.|year=2001|volume=49|issue=3–4|pages=327–336| doi=10.1016/S0032-0633(00)00154-9|url=http://www.tau.ac.il/~arkee/ganymop.ps|format=ps|bibcode=2001P&SS...49..327E|author2=Vasyliunas, Vytenis M.|last3=Gurnett|first3=Donald A.|display-authors=2}}</ref>