ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถั่วงอก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
KuroiSchwert (คุย | ส่วนร่วม)
(เพิ่ม) หมวดหมู่:พืชที่รับประทานได้
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Organic mixed beans shoots.jpg|thumb|ถั่วงอกชนิดต่าง ๆ]]
 
'''ถั่วงอก''' ({{lang-en|bean sprout}}) คือ ต้นถั่วที่มีรากงอกจากเมล็ด เช่น [[ถั่วเขียว]] [[ถั่วดำ]] [[ถั่วเหลือง]] (ถั่วงอกหัวโต) [[ถั่วลันเตา]] (โต้วเหมี่ยว) เป็นต้น ถั่วงอกถือเป็นผักชนิดหนึ่งและมีคุณค่าทางอาหารสูง ได้แก่ [[โปรตีน]] [[วิตามินบี]] [[วิตามินซี]] [[ใยอาหาร]] [[เหล็ก]] (1.6 กรัมต่อ 1 [[ถ้วยตวง (หน่วย)|ถ้วยตวง]]) และ[[เกลือแร่]]<ref name="montfort">[http://mcpswis.mcp.ac.th/html_edu/cgi-bin/mcp/main_php/print_informed.php?id_count_inform=11947 ถั่วงอก สรรพคุณและประโยชน์ของถั่วงอก 27 ประการ! โดยอาจารย์สรายุทธ ดวงอาภัยจากเว็บไซต์ Montfort College Primary Section] สืบค้นวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2557</ref> นอกจากนี้ ถั่วงอกยังมี[[แคลอรี่แคลอรี]]ต่ำอีกด้วย<ref name="sri">[http://home.kku.ac.th/healthy/index.php?option=com_content&view=article&id=119:-2&catid=43:health-update&Itemid=62 ข้อมูลถั่วงอกจากโรงพยาบาลศรีนครินทร์] สืบค้นวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2557</ref>
 
== การใช้ประโยชน์ ==
 
ถั่วงอกนิยมใช้รับประทานควบคู่กับอาหารประเภทเส้นที่มีส่วนผสมของ[[แป้งสาลี]] หรือ[[แป้งข้าวเจ้า]] ที่และให้[[คาร์โบไฮเดรต]] (Di-Carbohydrate) สูง ซึ่งมีลักษณะเป็นพันธะสายยาว อาทิ [[บะหมี่]] [[ก๋วยเตี๋ยว]] [[เส้นหมี่]] [[เส้นจันท์]] [[เส้นเล็ก]] ซึ่ง[[ชาวจีน]]ในอดีตนิยมนำมานิยรับประทานควบคู่ถั่วงอกกับก๋วยเตี๋ยว เส้นหมี่ และเส้นจันท์มากกว่าเส้นประเภทอื่น เพราะคนแก่ชาวจีนที่อพยพมาตั้งรกรากในหลายประเทศในอดีตนั้น ไม่ค่อยมีฟันและเรี่ยวแรงที่จะเคียวเคี้ยวเนื้อสัตว์<ref name="gotoknow">[http://women.kapook.com/view40873.html บทความเรื่อง เรียนรู้วัฒนธรรมจากถั่วงอกจากเว็บไซต์ Gotoknow.org] สืบค้นวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2557</ref> ปัจจุบันริเริ่มนำมา ถั่วงอกยังใช้รับประทานร่วมกับบะหมี่เพียงหนึ่งหยิบมือ ที่เรียกว่า "บะหมี่จับกัง" ด้วย
 
== สรรพคุณทางยา ==
 
ถั่วงอกมีสรรพคุณช่วยป้องกัน[[มะเร็งลำไส้]] และ[[เอนไซม์]]ที่มีส่วน เพราะช่วยในการกระตุ้นสารต่อต้าน[[อนุมูลอิสระ]]ที่จำเป็นภายในร่างกาย หรือที่เรียกว่า "ตัวทำปฏิกิริยา" และมีส่วนทั้งยังช่วยลดระดับน้ำตาลในกระแสเลือด<ref name="montfort"/>
 
== ข้อเสีย ==
 
หากรับประทานถั่วงอกในปริมาณที่มากเกินควร ในคราวละหลายๆครั้งประเภทเดียว ร่างกายจะเกิดภาวะอิดโรย ผอมซูบ เป็นลม หมดสติ เพราะร่างกายจะเกิดการเผาผลาญพลังงานตลอดเวลาในผู้หญิงและผู้ชายบาง[[กรุ๊ปเลือด]]จะเผาผลาญพลังงานตลอดเวลา ซึ่งนี้เป็นปัจจัยให้เกิดภาวะระดับ[[น้ำตาลในเลือด]]ต่ำมากผิดปกติ และอาจทำให้ถึงขั้นเสียชีวิตลงได้{{อ้างอิง}}
 
== ข้อควรระวัง ==
 
ถั่วงอกในท้องตลาดอาจปนเปื้อน[[สารเร่งโต]] สารเร่งให้อ้วน [[สารฟอร์มาลิน]] และ[[สารฟอกขาว]] ซึ่งเป็นสารต้องห้ามและเป็นโทษต่อร่างกาย โดยสารสารปนเปื้อนเหล่านี้มีผลกระทบต่อ[[ระบบทางเดินอาหาร]] [[ระบบประสาท]] และ[[ระบบหายใจ]] รวมถึงอาจเป็นสาเหตุของ[[เนื้องอก]]และ[[มะเร็ง]]ในอนาคตได้อีกด้วย<ref name="montfort"/><ref>[http://health.kapook.com/view6104.html บทความเรื่อง ระวังฟอร์มาลินในอาหารจากเว็บไซต์ kapook.com] สืบค้นวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2557</ref>
 
== อ้างอิง ==