ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทุกรกิริยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[File:flagellants.png|right|framethumb|200px|การเฆี่ยนตนเองเป็นการบำเพ็ญ “ทุกรกิริยา” วิธีหนึ่งที่เริ่มทำกันในช่วงที่เกิด[[แบล็กเดท]]]]
'''ทุกรกิริยา''' ({{lang-pi|ทุกฺกรกิริยา}}; {{lang-en|self-mortification;/ mortification of the flesh}}) ที่แปลตรงตัวว่า “การกระทํากิจที่ทําได้โดยยาก”<ref>[[ราชบัณฑิตยสถาน]], ''[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว'', กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 575</ref> ใช้ในบริบททาง[[ศาสนา]]และ[[จิตวิญญาณ]] เพื่อหมายถึงการทรมานร่างกายตนเอง เพื่อ[[การชำระให้บริสุทธิ์|ชำระตนให้บริสุทธิ์จากบาป]]
 
“ทุกรกิริยา” ที่อย่างง่ายที่สุดคือการละเว้นจากกิเลสบางอย่าง เช่น การงดการดื่มสุรา หรือการเลือกใช้ชีวิตอันสมถะ เช่นในดำรง ใช้[[ชีวิตอารามวาสี]]ของนิกายหลายนิกาย หรือถ้าเป็น “ทุกรกิริยา” ที่ขั้นรุนแรงก็อาจจะเป็นการทำร้ายตนเองเช่นโดยการเฆี่ยน แทง หรือกรีดเนื้อหนังเป็นต้น
การทำ “ทุกรกิริยา” ในศาสนาคริสต์ มีต้นตอมาจากบทจดหมายสามฉบับของ[[เปาโลอัครทูต]]ที่กล่าวว่า “''เพราะว่าถ้าท่านดำเนินชีวิตตามเนื้อหนังแล้ว ท่านจะต้องตาย แต่ถ้าโดยทางพระวิญญาณ ท่านทำลายกิจการของร่างกาย ท่านก็จะดำรงชีวิตได้''” (โรม 8:13)<ref>[http://www.bible.is/THATSV/Rom/8/13 โรม 8:13]</ref> ความคิดเดียวกันนี้สะท้อนในบทเขียนที่ว่า “''เหตุฉะนั้นจงประหารอวัยวะของท่านซึ่งอยู่ฝ่ายโลกนี้ คือการล่วงประเวณี การโสโครก ราคะตัณหา ความปรารถนาชั่ว และความโลภ ซึ่งเป็นการนับถือรูปเคารพ''” (โคโลสี 3:5)<ref>[http://www.bible.is/THATSV/Col/3 โคโลสี 3:5]</ref> และ “''ผู้ที่อยู่ฝ่ายพระเยซูคริสต์ได้ตรึงเนื้อหนังไว้ที่กางเขนพร้อมกับราคะและตัณหาแล้ว''” (กาลาเทีย 5:24)
 
== ศาสนาคริสต์ ==
การทำ “ทุกรกิริยา” ในศาสนาคริสต์ มีต้นตอต้นกำเนิดมาจากบทจดหมายสามฉบับของ[[เปาโลอัครทูต]]ที่กล่าวว่า “''เพราะว่าถ้าท่านดำเนินชีวิตตามเนื้อหนังแล้ว ท่านจะต้องตาย แต่ถ้าโดยทางพระวิญญาณ ท่านทำลายกิจการของร่างกาย ท่านก็จะดำรงชีวิตได้''” (โรม 8:13)<ref>[http://www.bible.is/THATSV/Rom/8/13 โรม 8:13]</ref> ความคิดเดียวกันนี้สะท้อนในบทเขียนที่ว่า “''เหตุฉะนั้นจงประหารอวัยวะของท่านซึ่งอยู่ฝ่ายโลกนี้ คือการล่วงประเวณี การโสโครก ราคะตัณหา ความปรารถนาชั่ว และความโลภ ซึ่งเป็นการนับถือรูปเคารพ''” (โคโลสี 3:5)<ref>[http://www.bible.is/THATSV/Col/3 โคโลสี 3:5]</ref> และ “''ผู้ที่อยู่ฝ่ายพระเยซูคริสต์ได้ตรึงเนื้อหนังไว้ที่กางเขนพร้อมกับราคะและตัณหาแล้ว''” (กาลาเทีย 5:24)
<ref>[http://www.bible.is/THATSV/Gal/5 กาลาเทีย 5]</ref>
 
ตามปรัชญาศาสนาคริสต์ “[[นัยวิเคราะห์]]” (exegesis), “พฤติกรรมต่อร่างกาย” (deeds of the body) และ “พฤติกรรมในโลก” (what is earthly) หมายถึง “ความบาดเจ็บของร่างกาย” หรือ ราคะ เป็นสิ่งที่ชั่วร้ายที่มีรากฐานมาจาก[[บาปกำเนิด]]ที่ทำให้มนุษย์ต้องประสบกับความทรมานที่เป็นผลสะท้อน
 
“ทุกรกิริยา” ที่ง่ายที่สุดคือการละเว้นจากกิเลสบางอย่างเช่นการงดการดื่มสุรา หรือการเลือกใช้ชีวิตอันสมถะเช่นในดำรง[[ชีวิตอารามวาสี]]ของนิกายหลายนิกาย หรือถ้าเป็น “ทุกรกิริยา” ที่รุนแรงก็อาจจะเป็นการทำร้ายตนเองเช่นโดยการเฆี่ยน แทง หรือกรีดเนื้อหนังเป็นต้น
 
== อ้างอิง ==