ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิกัวนาแรด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
| status = VU | status_system = IUCN2.3
| image = Cyclura cornuta.JPG
| image_caption = อีกัวนาแรดอิกัวนาแรด
| image2 = Cyclura cornuta 1852.jpg
| image2_caption = บริเวณส่วนหัวตัวเมีย
บรรทัด 22:
| subdivision_ranks = [[ชนิดย่อย]]
}}
'''อีกัวนาแรดอิกัวนาแรด''' หรือ '''ไรโน อีกัวนาอิกัวนา''' ({{lang-en|Rhinoceros iguana, Horned ground iguana}}) เป็น[[สัตว์เลื้อยคลาน]]จำพวก[[Iguania|อีกัวนาอิกัวนา]] มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Cyclura cornuta'' อยู่ในวงศ์ [[Iguanidae]]
 
มีจุดเด่นอยู่ที่ตรงหัวขนาดใหญ่ที่มีเขาที่ดั้งจมูกเหมือนกับ[[นอแรด]]อันเป็นที่มาของชื่อเรียก มีลำตัวที่มีขนาดใหญ่ หนา บึกบึน ลำตัวมี[[สีน้ำตาล]] หรือ[[สีเขียว]]มะกอกหรือ[[สีดำ]] ขณะที่บางตัวมีส่วนหาง[[สีน้ำเงิน|สีฟ้า]] ในตอนเล็กจะมี[[สีเทา]]อม[[สีน้ำเงิน|ฟ้า]]แซมตลอดทั้งตัว ใน[[เพศผู้|ตัวผู้]]จะมีสีสันบริเวณกล้ามเนื้อที่หลังคอหนามาก และมีกล้ามเนื้อบริเวณ[[กราม]]ที่ใหญ่มากจนปูดออกมาบริเวณหัวอย่างชัดเจน ภายในปากเป็น[[สีม่วง]][[ดำ]]สำหรับใช้ขู่ โดยการขู่จะใช้วิธีอ้าปากขู่และงับกรามลงแรง ๆ
 
จัดเป็นอีกัวนาอิกัวนาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดใน[[genus|สกุล]] ''[[Cyclura]]'' ด้วยมีความยาวที่สุดได้ถึง 1.5 [[เมตร]] และมี[[น้ำหนัก]]ได้ถึง 15 [[กิโลกรัม]] กระจายพันธุ์อยู่ที่ ๆ แห้งแล้ง แถบ[[เกาะฮิสปันโยลา]], [[แคริบเบียน|หมู่เกาะแคริเบียน]], [[สาธารณรัฐเฮติ]] และ[[ดอมินีกา]]
 
มีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 3 [[ชนิดย่อย]] ซึ่ง[[สูญพันธุ์]]ไปแล้วหนึ่งชนิด และอยู่ในภาวะใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่งหนึ่งชนิด เป็นอีกัวนาอิกัวนาที่กินได้ทั้ง[[พืช]]และ[[สัตว์]]ขนาดเล็ก หรือ ไข่นก เป็นอาหารได้ แต่จะกินพืชเป็นหลัก
 
เป็นสัตว์เลื้อยคลานที่เป็นที่นิยมเลี้ยงสำหรับผู้ที่นิยมเลี้ยงสัตว์แปลก ๆ แต่ว่าเป็นอีก้วนาที่มีนิสัยก้าวร้าว ไม่ค่อยจะเชื่องและอาจกัดทำร้ายผู้เลี้ยงได้ โดยขณะที่สถานะการอนุรักษ์ในธรรมชาติ อีกัวนาแรดอิกัวนาแรด มีศัตรูตามธรรมชาติ คือ [[Herpestidae|พังพอน]], [[สุนัข]], [[แมว]] และก็[[หนู]] ที่จะทำลายและกัดกิน[[ไข่]]และรัง แต่ปัจจุบันได้รับการคุ้มครองจาก[[กฎหมาย]]ที่เข้มงวด และการได้รับการเอาใจใส่จากผู้คนในท้องถิ่น ประกอบกับการสามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้แล้ว ทำให้มีจำนวนประชากรเพิ่มขึ้น<ref>BiG RoN, Basic-Intermediate Caree for ''Cyclura Species'' คอลัมน์ Exotic Pets หน้า 134-136 นิตยสาร Aquarium Biz ฉบับที่ 8 ปีที่ 1: [[กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 2011|2011]]</ref>
 
==อ้างอิง==