ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 227:
::: หล่อเย็นด้วยโซเดียม
:::: LMFBRs ส่วนใหญ่จะเป็นประเภทนี้. โซเดียมค่อนข้างหาได้ง่ายและทำงานด้วยและก็ยังป้องกันไม่ให้เกิดการกัดกร่อนจริงในส่วนเครื่องปฏิกรณ์ต่างๆที่แช่อยู่ในตัวมัน. อย่างไรก็ตาม โซเดียมระเบิดอย่างรุนแรงเมื่อสัมผัสกับน้ำ, ดังนั้นต้องระมัดระวัง, แต่การระเบิดดังกล่าวจะไม่มีความรุนแรงมากไปกว่า (ตัวอย่าง) การรั่วไหลของของเหลวที่ร้อนอย่างมากจากเครื่องปฏิกรณ์น้ำวิกฤตยิ่งยวด ({{lang-en|Supercritical water reactor (SCWR)}}) หรือ PWR EBR-I, เครื่องปฏิกรณ์ตัวแรกที่หลอมละลาย, จะเป็นประเภทนี้
 
;; เครื่องปฏิกรณ์แบบถังกรวด ({{lang-en|Pebble-bed reactor (PBR)}})
:: เครื่องปฏิกรณ์แบบนี้ใช้เชื้อเพลิงที่ขึ้นรูปเป็นลูกกลมเซรามิกและจากนั้นก็หมุนเวียนแก๊สผ่านลูก บอลเหล่านี้. ผลที่ได้คือเครื่องปฏิกรณ์ที่มีประสิทธิภาพ, การบำรุงรักษาต่ำ, ปลอดภัยมากขึ้นด้วยเชื้อเพลิงมาตรฐานราคาถูก. ต้นแบบเป็น AVR
;; เครื่องปฏิกรณ์เกลือหลอมละลาย
:: เครื่องปฏิกรณ์แบบนี้จะละลายเชื้อเพลิงในเกลือฟลูออไร, หรือใช้เกลือฟลูออไรเป็นตัวหล่อเย็น. มีคุณสมบัติด้านความปลอดภัยจำนวนมาก, มีประสิทธิภาพสูงและความหนาแน่นพลังงานสูงเหมาะสำหรับยานพาหนะ. โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พวกมันไม่มีความกดดันสูงหรือส่วนประกอบที่ติดไฟได้ง่ายในแกน. ต้นแบบเป็น Molten-Salt Reactor Experiment (MSRE) ซึ่งยังใช้วัฏจักรเชื้อเพลิงของทอเรียมในการผลิต 0.1% ของกากกัมมันตรังสีของเครื่องปฏิกรณ์มาตรฐาน.
;; เครื่องปฏิกรณ์ของเหลวเนื้อเดียวกัน ({{lang-en|Aqueous Homogeneous Reactor (AHR)}})
:: เครื่องปฏิกรณ์เหล่านี้ใช้เกลือนิวเคลียร์ละลายน้ำได้ที่ละลายลงในน้ำและผสมกับตัวหล่อเย็นและตัวหน่วงนิวตรอน
 
===อนาคตและเทคโนโลยีที่กำลังพัฒนา===
 
== ดูเพิ่ม ==