ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ช่องแคบเกาหลี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 59:
 
== กระแสน้ำ ==
มีสาขาของ[[กระแสน้ำอุ่นกุโระชิโอะ]]ไหลผ่านช่องแคบ สาขาของกระแสน้ำนี้มีความอุ่นและบางครั้งเรียกว่ากระแสน้ำสึชิมะ ซึ่งกำเนิดพร้อมกันกับหมู่เกาะของญี่ปุ่น ซึ่งในปัจจุบันได้พาดผ่านทะเลตะวันออกจากนั้นได้แบ่งออกเป็นแนวชายฝั่งของ[[เกาะซาฮาลิน]] ในท้ายที่สุด ได้ไหลสู่มหาสมุทรแปซิฟิกเหนือผ่านทางช่องแคบส่วนเหนือของ[[จังหวัดฮกไกโด]] และเข้าสู่[[ทะเลโอคอตสค์โอค็อตสค์]] ทางตอนเหนือของ[[เกาะซาฮาลิน]] ใกล้กับเมือง[[วลาดีวอสตอควลาดิวอสต็อก]] ซึ่งลักษณะมวลของน้ำมีความต่างกันค่อนข้างหลากหลายเพราะความเค็มของน้ำค่อนข้างต่ำในชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของเกาหลีรวมไปจนถึงประเทศจีน
 
== ความสำคัญทางเศรษฐกิจ ==
มีการส่งสินค้าระหว่างประเทสหลายเส้นทางผ่านทางช่องแคบ รวมถึงมีการบรรทุกจำนวนมากของท่าเรือทางตอนใต้ของเกาหลีใต้ ทั้งเกาหลีใต้และญี่ปุ่นต่างได้รับการจำกัดสิทธิเรียกร้องใน[[อาณาเขตของพวกเขา]] ในช่องแคบนี้ถึง 3 ไมล์ทะเล (5.6 กม.) จากชายฝั่ง เพื่อให้มีการอนุญาตอย่างเสรีในการเดินทางผ่านช่องแคบนี้{{Ref|vandyke2}}{{Ref|vandyke3}}
 
มีเรือโดยสารหลายเส้นทางที่ผ่านช่องแคบนี้ โดยเรือพาณิชย์ข้ามฟากแล่นจาก[[ปูซาน]] ประเทศเกาหลีใต้ถึงท่าเรือญี่ปุ่น ประกอบด้วยเมือง [[ฟุกุโอะกะ (เมือง)|ฟุกุโอะกะ]], [[ทสึชิมะสึชิมะ (เมือง)|ทสึชิมะสึชิมะ]], [[ชิโมะโนะเสะคิ (เมือง)|ชิโมะโนะเสะคิโมะโนะเซะกิ]] และ[[ฮิโระชิมะ (เมือง)|ฮิโระชิมะ]] เรือข้ามฟากยังเชื่อมต่อ[[เกาะทสึชิมะสึชิมะ]] กับฟุกุโอะกะ ส่วนเกาหลีใต้คือ[[เกาะเชจู]]เชื่อมต่อกับเกาหลีแผ่นดินใหญ่ เรือข้ามฟากมีการเชื่อมต่อปูซานกับเมืองในญี่ปุ่นด้วยท่าเรือที่มีอยู่ใน[[ประเทศจีน]]สำหรับการเดินทางข้ามช่องแคบด้วยเช่นกัน
 
น่านน้ำของญี่ปุ่นขยายออกไปถึงสามไมล์ทะเล (5.6 กม.) เข้าไปในช่องแคบถึงระดับสิบสอง ตามที่รายงานเพื่ออนุญาตให้เรือรบ[[กองทัพเรือสหรัฐ]]ติด[[อาวุธนิวเคลียร์]] และเรือดำน้ำเพื่อการขนส่งทางช่องแคบโดยไม่เป็นการฝ่าฝืนข้อห้ามของประเทศญี่ปุ่น เมื่อเผชิญกับอาวุธนิวเคลียร์ในอาณาเขตนี้<ref>[[Kyodo News]], "[http://search.japantimes.co.jp/cgi-bin/nn20090622a1.html Japan left key straits open for U.S. nukes]", เจแปนไทมส์, 2009. 6. 22.</ref>