ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รักสุดเพี้ยนของยัยเกรียนหลุดโลก!"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ชื่อภาษาอื่น}}<!--เปลี่ยนหัวเรื่องเป็นชื่อภาษาไทยไม่ได้ เนื่องจากชื่อเรื่องที่โรสมีเดียประกาศมา มีคำว่า "เกรียน" ที่ติดบัญชีดำของวิกิพีเดียอยู่ครับ-->
{{กล่องข้อมูล การ์ตูน/ส่วนหัว
| title_name = รักสุดเพี้ยนของยัยเกรียนหลุดโลก!
เส้น 17 ⟶ 16:
| artist = [[โอซากะ โนโซมิ]]
| publisher = {{flagicon|Japan}} [[เกียวโต แอนิเมชั่น]]
| first_run = [[1 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2554|2554]]
| last_run = [[28 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2554|2554]]
| num_volumes = 2
}}
เส้น 28 ⟶ 27:
| studio = [[เกียวโต แอนิเมชั่น]]
| num_episodes = 6
| release_dates = [[27 กันยายน]] - [[1 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2555|2555]]
| runtime = 6 นาที
}}
เส้น 39 ⟶ 38:
| network = [[w:Tokyo MX|Tokyo MX]] , [[w:Sun TV|Sun TV]] , [[w:KBS|KBS]] , [[w:TV Aichi|TV Aichi]]
| first_aired = [[4 ตุลาคม]]
| last_aired = [[19 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2555|2555]]
| num_episodes = 12
}}
เส้น 49 ⟶ 48:
| studio = [[เกียวโต แอนิเมชั่น]]
| num_episodes =
| release_dates = [[19 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2556|2556]]
| runtime = 24 นาที
}}
เส้น 55 ⟶ 54:
| color = #98FDC7}}
 
'''รักสุดเพี้ยนของยัยเกรียนหลุดโลก!''' ({{ญี่ปุ่น|中二病でも恋がしたい!}}) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า Chū-2 (จู-นิ) เป็นนิยายเรื่องหนึ่งที่เขียนขึ้นโดย โทระโกะ และวาดภาพประกอบโดย โอซากะ โนโซมิ นิยายเรื่องนี้เคยชนะการประกวดด้วยรางวัลชมเชยในงาน เกียวโต แอนิเมชั่น อวอร์ด ในปี 2553 และได้รับการตีพิมพ์ในปีถัดมา จำนวน 2 เล่มจบ และได้นำมาทำเป็นแอนิเมชั่น จำนวน 12 ตอน โดย เกียวโต แอนิเมชั่น ฉายในช่วงวันที่ [[4 ตุลาคม]] - [[19 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2555|2555]] และตอนย่อยเป็นออริจิเนชั่นเน็ตวีดีโอ (โอเอ็นเอ) เผยแพร่ผ่านเว็บไซด์ ไซต์[[ยูทูบ]] ตั้งแต่วันที่ [[27 กันยายน]] - [[1 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2555|2555]] รวมไปถึงในอนาคต ได้จัดทำเป็น ออริจิเนชั่น วีดีโอ แอนิเมชั่น (โอวีเอ) ซึ่งจะออกวางจำหน่ายในวันที่ [[19 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2556|2556]] รวมไปถึงจะมีภาคที่ 2 ของเรื่องออกมา <ref>[http://yaraon.blog109.fc2.com/blog-entry-16128.html 『中二病でも恋がしたい!』第2期制作決定!きたああああああああああああ] จาก [http://yaraon.blog109.fc2.com/ Yaron Blog] (สืบค้นเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2556) </ref>
 
== เนื้อเรื่อง ==
เส้น 100 ⟶ 99:
** ให้เสียงโดย : {{flag_icon|ญี่ปุ่น}} คิคุโกะ อิโนะอุเอะ
:: อาจารย์ประจำห้องของยูตะ
 
==โรคเพ้อฝันที่ผิดแปลกจากความเป็นจริง==
โรคเพ้อฝันที่ผิดแปลกจากความเป็นจริง ({{lang-en|Adolescent Delusions}}, {{ญี่ปุ่น|中二病|chūnibyō| ภาวะป่วยของนักเรียนม.ต้น ปี2}}) เป็นโรคแปลกประหลาดอย่างหนึ่ง ที่ไม่ได้มีสาเหตุมาจากเชื้อโรค แต่เป็นพฤติกรรมที่เกิดมาจากการซึมซับสิ่งเร้าต่างๆ ของกลุ่มเด็กวัยรุ่นตอนต้นที่กำลังจะเปลี่ยนผ่านจากวัยเด็กเป็นวัยผู้ใหญ่ ส่วนหนึ่งเป็นพฤติกรรมที่เกิดจากใต้จิตสำนึกของแต่ละบุคคลที่ "อยากหลุดพ้นจากความเป็นเด็ก" แต่ก็ "ไม่อยากเติบโตเป็นผู้ใหญ่" เกิดการซ้อนทับกันอยู่
 
ลักษณะอาการของคนที่เป็นโรคนี้ก็คือ มักจะคิดเรื่องราวเพ้อฝันที่ผิดแปลกจากความเป็นจริงโดยไม่ได้ตั้งใจ เช่น คิดว่าตัวเองเป็นจอมเวทย์ผู้แข็งแกร่งที่เดินทางมาจากอีกฝากของมิติ หรือคิดว่าเป็นผู้ที่สามารถสื่อสารอะไรกับโลกอีกฟากหนึ่งได้เป็นต้น ซึ่งอาการของคนที่เป็นโรคนี้จะไม่ใช้เหตุข้างต้นก็ได้ บางคนอาจจะเป็นโรคนี้เพราะอยากเป็นผู้ใหญ่ เช่น อยากกินกาแฟดำชนิดเข้มข้น อยากรู้อยากลองในสิ่งที่ไม่ควรลอง หรือแม้แต่การปฏิเสธตัวจากสังคมเพราะคิดว่าตัวเองไม่ใช่เด็กแล้วเป็นต้น
 
ทั้งนี้อาการดังกล่าวไม่ได้สร้างผลเสียอะไรให้กับตัววัยรุ่นมากนัก เพราะสามารถหายไปได้เองเมื่อผู้ที่เป็นโรคนี้เติบโตขึ้นตามวัย หรือสามารถปรับตัวให้กลมกลืนและเข้ากับสังคมที่ตนอาศัยอยู่ได้อย่างไม่มีปัญหา แต่กลับกันถ้าเด็กไม่สามารถปรับตัวเข้าหาความจริงได้และยิ่งถลำลึกเข้าไปอีก ก็จะกลายเป็นบุคคลในกลุ่ม Denpa ({{ญี่ปุ่น| 電波 |denpa}}) ซึ่งเป็นคำศัพท์แสลงที่ชาวญี่ปุ่นนิยมใช้เรียกกลุ่มคนที่มีอาการเพ้อฝันจนไม่สามารถกลับสู่โลกแห่งความเป็นจริงและไม่สามารถใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุขได้ ซึ่งกลุ่มนี้มักจะถูกพาไปรักษาตัวด้วยจิตแพทย์เพื่อฟื้นฟูสภาพจิตใจให้กลับมาเป็นเหมือนเดิม แต่อาการหนึ่งที่คนที่เคยเป็นโรคนี้และหายได้ด้วยตัวเองต้องเป็นทุกคน นั่นก็คือเวลาที่นึกถึงสิ่งที่ทำไปในระหว่างที่เป็นโรคแล้ว มักจะเกิดอาการเขินอายและขำขันว่าตอนนั้นทำไปได้อย่างไร แต่บางคนก็มีอาการหนักถึงขั้นย้ายถิ่นเพื่อหลีกหนีความจริงจากคนที่รู้ว่าผู้ป่วยเคยเป็นโรคนี้มาก่อน
 
ตัวอย่างในเรื่องนี้ก็คือ โทกาชิ ยูตะ และ นิบุทานิ ชินกะ ที่เป็นโรคนี้และสามารถหายได้ด้วยตัวเอง แต่กลับมีอาการหนักเวลาที่นึกถึงสิ่งที่ทำไปในอดีตนั่นเอง
 
== อ้างอิง ==