ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอเวียงป่าเป้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nonny264 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
| population_as_of = 2552
| density = 55.15
| postal_code = 57170,<br/>57260 <small>(เฉพาะตำบลแม่เจดีย์ แม่เจดีย์ใหม่ และเวียงกาหลง)</small>
| postal_code = 57170 และ 57260
| geocode = 5711
| image_map = Amphoe 5711.svg
| capital = ที่ว่าการอำเภอเวียงป่าเป้า หมู่ที่ 6 ถนนเชียงราย-เชียงใหม่ ตำบลเวียง อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย 57170
| phone = 0 5378 1510
| fax = 0 5378 1510
| คำขวัญ = เมืองโบราณเวียงกาหลง มีองค์พระธาตุแม่เจดีย์ <br/>น้ำพุร้อนดี ทุ่งเทวีและโป่งน้ำร้อน
}}
'''อำเภอเวียงป่าเป้า ''' ({{lang-nod|[[ไฟล์:Lanna-Wiang_Pa_Pao.png|80px]]}}) เป็น[[อำเภอ]]หนึ่งของ[[จังหวัดเชียงราย]] เป็นอำเภอที่อยู่ทางใต้สุดของจังหวัดเชียงราย มีพื้นที่ขนาดใหญ่ซึ่งรองจากอำเภอเมืองเชียงราย และอำเภอแม่สรวย มีลักษณะเป็นที่ราบสลับกับเทือกเขาตลอดทั้งแนว มีเทือกเขาที่สูงที่สุดของจังหวัด และยังเป็นอันดับ 5-6 ของประเทศ และยังเป็นอำเภอเดียวของจังหวัดที่มีต้นกำเนิดแม่น้ำไหลย้อนกลับขึ้นไปและไปรวมกับแม่กก มีประชากรอาศัยอยู่ในพื้นที่หลายเชื้อชาติ เช่น อาข่า ม้ง ไตลื้อ ขมุ มูเซอ แม้ว เย้า อพยพมาจากสิบสองปันนา ทางตอนใต้ของประเทศจีนปัจจุบันบางส่วน และอพยพมาจากจังหวัดเชียงใหม่
เส้น 24 ⟶ 25:
* '''ทิศใต้''' ติดต่อกับ[[อำเภอเมืองปาน]] (จังหวัดลำปาง) และ[[อำเภอดอยสะเก็ด]] ([[จังหวัดเชียงใหม่]])
* '''ทิศตะวันตก''' ติดต่อกับ[[อำเภอพร้าว]] (จังหวัดเชียงใหม่)
 
==ลักษณะทางประวัติศาสตร์ ==
อำเภอเวียงป่าเป้า เป็นเมืองเก่าแก่ อายุไม่ต่ำกว่า 200 ปี เจ้าอินทวิชยานนท์ ผู้ครองเมืองเชียงใหม่ เป็นผู้ก่อตั้งโดยมอบหมายให้พระยาไชยวงค์ นำราษฎรชาวเชียงใหม่ขึ้นมาถางป่าอ้อหญ้าไซ ซึ่งอยู่ห่างตัวอำเภอไปทางใต้ แล้วสร้างเมืองชื่อว่า “เมืองเฟยไฮ” และพระยาไชยวงค์( ต้นตระกูล "บุญชัยวงศ์" ในปัจจุบัน )เป็นเจ้าผู้ครองเมือง ต่อมาประมาณปี พ.ศ. 2430 พระยาไชวงค์เห็นว่าเมืองเฟยไฮเป็นที่ราบลุ่ม พอเข้าฤดูฝนน้ำจะท่วมประจำทุกปี จึงให้ราษฎรขึ้นมาถางป่าไม้ที่มีไม้เป้า(เป้าน้อย ซึ่งเป็นสมุนไพรชนิดหนึ่ง) แล้วตั้งขึ้นเป็นเมืองชั่วคราว ในปี พ.ศ. 2440 พระยาไชยวงค์ได้ถึงแก่กรรม พระยาเทพณรงค์ (ต้นตระกูล”ทาอุปรงค์”ในปัจจุบัน ) ผู้เป็นบุตรเขย ได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าผู้ครองเมืองป่าเป้าสืบแทน และได้ใช้อิฐก่อเป็นกำแพงเมือง (ปัจจุบันจะเห็นร่องรอยบริเวณวัดป่าม่วง - วัดศรีคำเวียง) และตั้งชื่อเมืองว่า”เวียงป่าเป้า” ต่อมาพระยาเทพณรงค์ ได้ถึงแก่กรรม พระยาขันธเสมาบดี ( ต้นตระกูล ”ธนะชัยขันธ์” ในปัจจุบัน ) ซึ่งเป็นน้องเขยได้รับการแต่งตั้งให้ครองเมืองสืบแทน ประมาณปี พ.ศ 2448 พวกเงี้ยว (ไทยใหญ่) ได้ก่อจารจลขึ้นที่ตัวเมืองเชียงรายและเชียงใหม่ ได้ขึ้นอยู่ในเขตปกครองของอำเภอแม่พริก (บ้านแม่พริก อำเภอแม่สรวยในปัจจุบัน และต่อมาอำเภอแม่พริกได้ย้ายมาอยู่ริมน้ำแม่สรวย และขนานนามใหม่ว่าอำเภอแม่สรวย )อำเภอเวียงป่าเป้าเป็นอำเภอหนึ่งซึ่งอยู่ทิศใต้ของจังหวัดเชียงราย จากทั้งหมด 16 อำเภอ 2 กิ่ง อยู่ห่างจากตัวจังหวัด 90 กิโลเมตร การคมนาคมสะดวก ด้วยถนนลาดยาง ทางหลวงหมายเลข 118 ระยะทาง 180 กิโลเมตร จากจังหวัดเชียงราย – จังหวัดเชียงใหม่ และทางหลวงหมายเลข 1035 จากเขตเทศบาลแม่ขะจานไปยังอำเภอวังเหนือ ถึงจังหวัดลำปาง ยาวประมาณ 120 กม. และทางหลวงหมายเลข 1150 จากตำบลบ้านโป่งเทวีไปยังอำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ยาวประมาณ 53 กม.ลักษณะที่ตั้งของอำเภอเป็นที่ราบระหว่างภูเขา มีแม่น้ำไหลผ่านจากภูเขาผีปันน้ำ( ดอยนางแก้ว ) เรียกแม่น้ำลาว ไหลลงสู่แม่น้ำกก โดยผ่านอำเภอแม่สรวย อำเภอแม่ลาว อำเภอเมือง และอำเภอเวียงชัย ตามแผนที่สากลจะอยู่ประมาณ ละติจูดที่ 15 – 19 องศาเหนือ ลองติจูดที่ 99 องศาตะวันออก สูงกว่าระดับน้ำทะเล 547 เมตร พื้นที่ทั้งหมดประมาณ 1,217 ตร.กม. หรือ 765,625 ไร่ เป็นพื้นที่เพาะปลูกประมาณ 205,353 ไร่พื้นที่ป่าไม้ 560,272 ไร่
 
[http://thaitravelcr.blogspot.com/2012/05/blog-post_4121.html อำเภอเวียงป่าเป้า] พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าและมีภูเขาล้อมรอบ มีพื้นที่ราบเป็นรูปแอ่งกระทะพอประมาณ มีความกว้าง ประมาณ 27 กม.ความยาว 41 กม.มีภูเขาผีปันน้ำอยู่ทางทิศตะวันตกและทิศใต้ เป็นต้นกำหนดของแม่น้ำลาว, แม่น้ำแม่ฉางข้าว, แม่น้ำแม่ปูน, แม่น้ำแม่โถและแม่น้ำแม่เจดีย์ พื้นที่ทั้งหมดอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติขุนแจ ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ป่าไม้ด้านทิศตะวันตก และป่าสงวนแห่งชาติแม่ปูนน้อย อยู่ทางทิศตะวันออก มีพื้นที่ประมาณ 560,271 ไร่ แหล่งแร่ธาตุต่างๆ เช่น แร่ดีบุก (Cassiterritecassiterite) แร่ซีไลท์ชีไลต์ (Scheelitescheelite) บริเวณดอยหมอก เป็นแหล่งแร่ซีไลท์ที่มีปริมาณสำรองมากที่สุดในประเทศไทย ไม่ต่ำกว่า 30,000 เมตริกตัน แต่บริษัทผู้สัมปทานขาด
งบประมาณในการเจาะขุด ส่วนแร่ดินขาว (Kaolinitekaolinite) พบที่ตำบลบ้านโป่งเทวี ปัจจุบันได้มีบริษัท เบญจอุตสาหกรรมมาตั้งโรงงานซึ่งทำเป็นเมืองหาบ ดินขาวใช้ทำอิฐก่อสร้าง เครื่องปั้นดินเผา, กระเบื้องเคลือบ และได้ส่งเป็นวัตถุดิบไปยังโรงงานกระเบื้องเซรามิก ที่อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง
 
อำเภอเวียงป่าเป้าได้รับการตั้งเป็นเขตการปกครองครั้งแรกเมื่อ ปี พ.ศ. 2430 ในปี พ.ศ. 2475 ขุนบวรอุทัยวัช ซึ่งดำรงตำแหน่ง นายอำเภอเวียงป่าเป้าได้ทำการก่อสร้าง พอสร้างได้เพียงครึ่งหนึ่ง ขุนบวรอุทัยธวัชก็ประสบอุบัติเหตุตกม้าถึงแกชีวิต ขุนพิพิธสุขอำนวย นายอำเภอคนต่อมา ได้ดำเนินการก่อสร้างต่อ การก่อสร้างเสร็จสมบูรณ์ในสมัยขุนสมจิตสมบัติศิริ ตัวอาคารเป็นลักษณะทรงยุโรปผสมรัตนโกสิน ซึ่งเป็นอาคารตึกก่ออิฐถือปูน เป็นสถาปัตยกรรมที่หาดูได้ยากยิ่ง
 
=== การเสนอโครงการจัดตั้งกิ่งอำเภอแม่ขะจานและกิ่งอำเภอต่างๆ ในช่วงปี พ.ศ. 2539-ปัจจุบัน ===
[[ไฟล์:Chiang_Rai_Map-King_Amphoe_2539.png|200px|left|thumb|แผนที่จังหวัดเชียงราย แสดงพื้นที่ซึ่งเคยมีการเสนอ ให้มีการจัดตั้งกิ่งอำเภอขึ้น ดังนี้ 1. กิ่งอำเภอแม่ขะจาน 2. กิ่งอำเภอวาวี 3. กิ่งอำเภอดอยสัก 4. กิ่งอำเภอปล้อง 5. กิ่งอำเภอแม่อ้อ หรือ กิ่งอำเภอพัชรกิติยาภา 6. กิ่งอำเภอเรืองนคร]]
* * เสนอให้แยกตำบลแม่เจดีย์ ตำบลแม่เจดีย์ใหม่ และตำบลเวียงกาหลง ออกจาก[[อำเภอเวียงป่าเป้า]]ในปี พ.ศ. 2539 เพื่อตั้งเป็น '''กิ่งอำเภอแม่ขะจาน''' อำเภอเวียงป่าเป้า เนื่องจากแม่ขะจานไกลจากตัวเมืองเวียงป่าเป้าแต่มีความเจริญและประชากรเริ่มหนาแน่นกว่า อย่างไรก็ตาม ชื่อกิ่งอำเภอแม่ขะจานยังปรากฏตามเว็บไซต์ต่างๆต่าง ๆ อย่างไม่เป็นทางการอาจสร้างความสับสนกับผู้อ่านได้ <ref>โป่งน้ำร้อน, http://kanchanapisek.or.th/oncc-cgi/text.cgi?no=12393 </ref> <ref>เจ้าแม่นางแก้ว, http://horoscope.thaiza.com/เจ้าแม่นางแก้ว/196642/</ref>
 
== ลักษณะภูมิอากาศ ==
เส้น 127 ⟶ 133:
|date=August 2010
}}
 
==ลักษณะประชากร==
ด้านชาติพันธุ์ ชาวพื้นเมืองได้อพยพมาจากจังหวัดเชียงใหม่ ช่วงที่เกิดกบฏเงี้ยวมีทั้งไทยยวนและ ไทยยองประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวพื้นเมือง มีประมาณ 60,000 คน และมีชาวเขาเผ่าม้ง [http://thaitravelcr.blogspot.com/2012/01/blog-post_13.html ลาหู่](มูเซอร์) ลีซอ และกะเหรี่ยง ประมาณ 15,000 คน โดยเฉพาะเผ่ามูเซอร์มีมากที่สุด เดิมทีได้อพยพมาจากมณฑลยูนาน, เสฉวน, กวางสี แล้วถูกจีนรุกราน เคลื่อนย้ายมาสู่รัฐเชียงตุง รัฐฉานของพม่า และลาว แล้วทยอยเข้ามาสู่ไทยหลายระลอก ปัจจุบันทำให้เกิดปัญหายาเสพติด และไม่มีบัตรประจำตัวประชาชน ปัจจุบันได้มีประชาชนจากภาคอีสานได้มาซื้อที่ดินบริเวณรอบ ๆ อำเภอเวียงป่าเป้า ที่เป็นป่าเสื่อมโทรม มาปลูกสร้างบ้านเรือนและประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำไร่ ทำสวน ปลูกข้าว บางหมู่บ้านเป็นคนอีสานทั้งหมู่บ้าน และมีนายทุนมากว้านซื้อที่ดินและมาอาศัยอยู่ก็มีมาก
 
==สังคมวัฒนธรรม==
ประชากรส่วนมากเป็นชาวพื้นเมือง ที่อพยพมาจาก จังหวัดลำปาง จังหวัดเชียงใหม่ (ไทยวน) จังหวัดลำพูน (ไทยอง) ประมาณร้อยละ 75 นอกนั้นเป็น ชาวเขา เช่น ปกากะญอ(กะเหรี่ยง) ม้ง เย้า อาข่า มูเซอดำ ลีซอ ศาสนาที่นับถือกันคือ ศาสนาพุทธ รองลงมาเป็นคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก และโปแตสแตนต์ ประเพณีที่สำคัญทางพุทธศาสนาก็คือ ประเพณีตานก๋วยสลาก ปอยหลวง สรงน้ำพระธาตุต่าง ๆ จะมีขึ้นในวันเพ็ญเดือน 6 ส่วนประเพณีท้องถิ่นจะมีก่อนวันเพ็ญเดือน 7 ประมาณ 1-2 วัน เช่น การลงผีมด ( เป็นการเข้าทรงของเทวาอารักษ์ประจำหมู่บ้าน) การฟ้อนผีเม็ง ( เป็นการเข้าทรงของเทวาอารักษ์ที่อาศัยอยู่สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ) การไหว้ผีปู่ย่า ( ผีบรรพบุรุษ ) ส่วนวัฒนธรรมในการดำรงชีพ เช่น การกิน การอยู่อาศัย มีลักษณะคล้ายคลึงกันทั่วไปในภาคเหนือล้านนา
 
มีการก่อสร้างมัสยิดในเขตตำบลแม่เจดีย์ใหม่ ทั้ง ๆ ที่ไม่มีศาสนิก ชุมชนมุสลิม หรือสัปบุรุษในพื้นที่เลย<ref>Nation Channel Social. ''[http://www.nationchannel.com/main/news/social/20120524/27824580/ ชุมนุมคัดค้านสร้างมัสยิดเชียงรายบานปลายหนัก]''. วันที่ 11 กรกฎาคม 2555. สืบค้นวันที่ 11 กรกฎาคม 2555</ref> สร้างความไม่พอใจแก่กลุ่มชาวบ้าน และเกิดการต่อต้านจากกลุ่มชาวพุทธในพื้นที่<ref>Muslim Thai News. ''[http://news.muslimthaipost.com/content.php?page=sub&category=78&id=11042 เครือข่าย 3 จังหวัดภาคเหนือชุมนุมคัดค้าน สร้างมัสยิดเชียงราย อ้างเป็นแผนยึดครองประเทศ ของชนชาติมุสลิม]''. สืบค้นวันที่ 11 กรกฎาคม 2555</ref>
 
==เศรษฐกิจ==
อาชีพราษฎรส่วนใหญ่ ทำการเกษตรกรรม มีพื้นที่นาประมาณ 39,347 ไร่ ที่ไร่ ประมาณ 28,500 ไร่ พืชเศรษฐกิจที่สำคัญได้แก่ ข้าวเหนียวและข้าวเจ้ามีเพียงเล็กน้อย แต่จะมี
โรงสีข้างอยู่จำนวนมากบริเวณบ้านหม้อ ตำบลป่างิ้ว ส่วนมากจะรับจ้างสีข้าวส่งที่จังหวัดเชียงใหม่ โรงงานผสมปูนซีเมนต์สำเร็จรูปและผสมยางแอสฟั้นส์ กับหินละเอียด ตั้งอยู่เขตตำบลเวียงกาหลง
มีการใช้น้ำมันเตาในการเผายางแอสฟั้นส์(ยางมะตอย)ในการทำยางผสมแอสฟั้นส์ติก เพื่อใช้ในการก่อสร้างถนน ส่วนพืชไร่ที่สำคัญ คือ ขิง จะมีโรงงานดองขิง บริษัท ชวี่ เฉวียน ฟูดส์ จำกัด ตั้งอยู่บริเวณตำบล
เวียงกาหลง ซึ่งได้ส่งออกไปยังประเทศญี่ปุ่น ทำรายได้ให้แก่ราษฎรปีละประมาณ 100 ล้านบาท โรงงานดองผักกาดดอง ตั้งอยู่ด้านทิศเหนือของอำเภอ ส่วนพืชชนิดอื่น เช่น กะหล่ำปีจะปลูกมากบนที่ราบสูงโดยเฉพาะชาวเขาได้ทำการปลูกจำนวนมาก ซึ่งเป็นสาเหตุของการทำไร่เลื่อนลอย ถางและเผาป่า ใบชาเมี่ยงก็ปลูกกันมากบริเวณหุบเขาผีปันน้ำ เพราะอากาศเย็นตลอดปี มีจำหน่ายในตลาดบ้านแม่ขะจาน โดยเฉพาะใบชาตราแม่ค้าที่ขึ้นชื่อด้านรสชาติ อาชีพการเพาะเห็ดเป็นอาชีพอีกอาชีพหนึ่งที่ทำรายได้ให้เกษตรกรกลุ่มหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นเห็ดฟาง ( จะเริ่มทำการ
เพาะเห็ด ประมาณเดือน กุมภาพันธ์ – ตุลาคม ) เห็ดแชมปิยอง ( ระเริ่มทำการเพาะเห็ดประมาณเดือน ตุลาคม – กุมภาพันธ์ เพราะเห็ดชนิดนี้ชอบอากาศเย็นในการออกผลผลิต ) ส่วนเห็ดที่สามารถทำการเพาะได้ตลอดปี คือ เห็ดหอม เห็ดนางฟ้า นางรม เห็ด แต่ก็มีการเพาะเห็ดเป๋าฮื้อเหมือนกัน แต่มีไม่มาก สำหรับตลาดที่รับซื้อที่สำคัญคือ โครงการหลวงดอยคำ อำเภอฝาง บริษัทส่งออกเห็ดแปรรูป
นิคมอุตสาหกรรมจังหวัดลำพูนโรงงาน UFC จังหวัดลำปาง และส่งขายปลีกให้แก่แม่ค้าภายในอำเภอเพื่อจำหน่ายแก่ประชาชนทั่วไป
 
==สถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ==
* '''พระธาตุแม่เจดีย์''' สร้างเมื่อปี พ.ศ. 1583 เป็นพระเจดีย์รูปแบบทรงพม่า ซึ่งพระเจ้าอโนธรามังช่อ กษัตริย์พม่าได้ก่อสร้าง เมื่อยกทัพผ่านมาและพักแรมบริเวณดังกล่าว ภายในวัดมี
อ่างเก็บน้ำห้วยแม่คำมา เป็นแหล่งเพาะพันธ์ปลาหลากหลายพันธุ์ และมีกิจกรรมการอนุรักษ์ป่าไม้โดยพระสงฆ์ อยู่ที่บ้านแม่เจดีย์ หมู่ที่3 ต.แม่เจดีย์ กม.ที่ 113 ถนนสายเชียงราย-เชียงใหม่
* '''พระธาตุม่อนพระเจ้าหลาย''' วัดพระเจ้าหลวง(ม่อนพระเจ้าหลาย) พระธาตุม่อนพระเจ้าหลายเป็นพระธาตุที่เก่าแก่ กว่าพันปี ไม่ปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่าใครเป็นคนสร้างขึ้นมา ใน พ.ศ. 2495 พระธาตุม่อนพระเจ้าหลาย มีความเป็นมาสลับซบซัอน อัศจรรย์ ตามที่คนโบราณได้เล่าสืบต่อกันมาพระธาตุม่อนพระเจ้าหลายนี้มีถ้ำอัศจรรย์อยู่ ซึ่งภายในมีพุทธรุปศักดิ์สิทธิ์มากมายมหาศาล อีกทั้งยังมีเครื่องทรงของใช้สอยของกษัตริย์ในสมัยเก่าก่อนมาเก็บไว้ในถ้ำแห่งนี้ยามมีภัยแล ภายในวัดมีสถานที่ต่างๆและยังมีพระธาตุม่อนพระเจ้าหลายตั้งสูงตระการบนยอดเขาอย่างเด่นชัด เวลากลางคืนสะท้อนแสงสีทองแจ้งกระจัดอย่างสวยงาม โดยสร้างเสร็จเมื่อปี พ.ศ 2554 ครอบพระธาตุองค์เดิมที่มีอายุหลายพันปีและพระบรมสารีริกธาตุ ตั้งอยู่ 254 หมู่ 5 ต.แม่เจดีย์
* '''เมืองโบราณเวียงกาหลง''' ครั้งสมัยพระเจ้าอโนธรามังช่อ กษัตริย์พม่า ได้เดินทัพไปยังกัมพูชา ได้หยุดทัพและพักแรม ระหว่างได้ก่อสร้างพระธาตุเจดีย์ ได้ใช้เวลานาน จึงได้สร้างเมืองบริเวณด้านทิศตะวันออก และได้มีการขุดคูล้อมรอบตัวเมือง เพื่อป้องกันข้าศึกสัตรูที่จะมารุกราน และได้ขุดดินมาทำอิฐเพื่อสร้างพระธาตุเจดีย์ ระหว่างนั้นก็ได้ทำเครื่องปั้นดินเผาประเภทต่างๆ เช่น ถ้วย ชาม หม้อ แจกัน เพื่อนำมาใช้และมาแลกข้าวปลาอาหารกับชาวบ้านทั่วไป ปัจจุบันเหลือแต่คูเมืองไว้เป็นหลักฐานและเตาเผาลักษณะคล้ายกระดองเต่า กว้าง 2 เมตร ยาว 3 เมตร และมีเศษเครื่องปั้นที่แตกและอยู่ในสภาพดี ฝังอยู่โดยรอบ ชาวบ้านได้ขุดและนำมาขายให้แก่พ่อค้าในราคาสูง
* '''สวนสาธรณะบ้านชุ่มเมืองเย็น''' ตั้งอยู่ที่ถนนเชียงใหม่-เชียงราย ด้านหน้ามีองค์พระครูบาศรีวิชัย นักบุญแห่งล้านนาขนาดใหญ่ตั้งอยู่ เป็นสถานที่พักผ่อนอย่อนใจมีลำธารที่ใสสะอาดตลอดทั้งสวน รวมถึงเป็นสะดือแห่งอาณาจักรล้านนา มีการจำหน่ายอาหาร เครื่องดื่มรวมถึงยังเป็นสถานที่เล่นน้ำในช่วงสงกรานต์
* '''ดอยลังกา'''* เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในจังหวัด มีความสูง 2,031 เมตรจากระดับน้ำทะเลซึ่งยอดเขามีขนาดสูงสุดเป็นอันดับ5ของประเทศ ประกอบด้วยดอยผาโง้ม ดอยลังกาน้อยและดอยลังกาหลวง จุดเด่นของเส้นทางเดินป่าเส้นนี้คือ การเดินตามแนวสันดอยไปตลอดเส้นทางได้พบได้เห็นป่าสภาพต่างๆ มีทั้งป่าดิบเขา ป่าสน และทุ่งหญ้าบนดอยสูง ป่าที่นี่มีความหลากหลายทำให้นักเดินทางไม่รู้สึกเบื่อหน่าย ตลอดเส้นทางเดินบนสันดอยจะมองเห็นภาพวิวที่สวยงาม ดอกไม้ก็มีมาก มีทั้งดอกกุหลาบขาว ดอยลังกาที่มีลักษณะเฉพาะจะออกดอกสวยงามในฤดูหนาว นอกจากนี้ยังมีดอกไม้สวยแปลกตาอีกหลายชนิด ตังอยู่ที่ อุทยานแห่งชาติขุนแจ ต.แม่เจดีย์ใหม่
* '''บ่อน้ำพุร้อน''' มีอยู่ 2 แห่ง บ่อน้ำพุร้อนแม่ขะจาน หมู่ 6 ต.แม่เจดีย์ใหม่ กม.ที่ 120 ถนนเชียงราย – เชียงใหม่ และบ้านโป่งเทวี ถนนเวียงป่าเป้า – พร้าว กม.ที่ 3 มีร้านขายของที่ระลึก และเครื่องดื่มอาหาร เหมาะสำหรับการหยุดพักเวลาเดินทางผ่านไปมา
* '''หมู่บ้านแม่ขะจาน''' เป็นหมู่บ้านที่ครอบคลุมถนนเชียงราย - เชียงใหม่ และ แม่ขะจาน - วังเหนือ เป็นย่านเศรษฐกิจสำคัญของชาวบ้านมีการจำหน่ายสินค้า ของฝากจากหัตถกรรมชาวบ้านมากมาย สำหรับนักท่องเที่ยวที่ใช้ถนนเส้นนี้ผ่านไปมา
* '''เขื่อนดอยงู''' ตั้งอยู่ที่ ต.แม่เจดีย์ อ.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย สร้างเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2551 ตั้งอยู่ห่างจากหมู่บ้านแม่ขะจาน ไปทางทิศตะวันตก ประมาณ 5 กิโลเมตร โดยแยกออกจากถนนเส้นเชียงใหม่-เชียงราย เข้าไปทางวัดหลวงราชเจริญธรรม ระหว่างทางจะเป็นหมู่บ้านและพื้นที่ทำการเกษตรของชาวบ้าน เขื่อนดอยงู มีลักษณะเป็นทำนบดิน บริเวณสันเขื่อนจะเป็นถนน ซึ่งมีทัศนียภาพที่สวยงาม มองเห็นพื้นน้ำ ป่าไม้ และท้องฟ้า ถือเป็นประโยชน์ทางอ้อมของเขื่อนดอยงูแห่งนี้ ที่นอกจากจะมีประโยชน์ทางด้านการเกษตรแล้ว ยังเป็นสถานที่พักผ่อนย่อนใจ
* '''อ่างเก็บน้ำแม่ฉางข้าว''' ตั้งอยู่พื้นที่เขตอุทยานแห่งชาติขุนแจ หมู่ที่ 10 ต.ป่างิ้ว เป็นอ่างเก็บน้ำสำหรับการเกษตรในฤดูแล้ง ครอบคลุมพื้นที่การเกษตร 2 ตำบล ประมาณ 1 หมื่นกว่าไร่
 
== การแบ่งเขตการปกครอง ==
เส้น 189 ⟶ 167:
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลแม่เจดีย์ใหม่''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลแม่เจดีย์ใหม่ทั้งตำบล
 
==ลักษณะประชากร==
=== การเสนอโครงการจัดตั้งกิ่งอำเภอแม่ขะจานและกิ่งอำเภอต่างๆ ในช่วงปี พ.ศ. 2539-ปัจจุบัน ===
ด้านชาติพันธุ์ ชาวพื้นเมืองได้อพยพมาจากจังหวัดเชียงใหม่ ช่วงที่เกิดกบฏเงี้ยวมีทั้งไทยยวนและ ไทยยองประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวพื้นเมือง มีประมาณ 60,000 คน และมีชาวเขาเผ่าม้ง [http://thaitravelcr.blogspot.com/2012/01/blog-post_13.html ลาหู่](มูเซอร์) ลีซอ และกะเหรี่ยง ประมาณ 15,000 คน โดยเฉพาะเผ่ามูเซอร์มีมากที่สุด เดิมทีได้อพยพมาจากมณฑลยูนาน, เสฉวน, กวางสี แล้วถูกจีนรุกราน เคลื่อนย้ายมาสู่รัฐเชียงตุง รัฐฉานของพม่า และลาว แล้วทยอยเข้ามาสู่ไทยหลายระลอก ปัจจุบันทำให้เกิดปัญหายาเสพติด และไม่มีบัตรประจำตัวประชาชน ปัจจุบันได้มีประชาชนจากภาคอีสานได้มาซื้อที่ดินบริเวณรอบ ๆ อำเภอเวียงป่าเป้า ที่เป็นป่าเสื่อมโทรม มาปลูกสร้างบ้านเรือนและประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำไร่ ทำสวน ปลูกข้าว บางหมู่บ้านเป็นคนอีสานทั้งหมู่บ้าน และมีนายทุนมากว้านซื้อที่ดินและมาอาศัยอยู่ก็มีมาก
[[ไฟล์:Chiang_Rai_Map-King_Amphoe_2539.png|200px|left|thumb|แผนที่จังหวัดเชียงราย แสดงพื้นที่ซึ่งเคยมีการเสนอ ให้มีการจัดตั้งกิ่งอำเภอขึ้น ดังนี้ 1.กิ่งอำเภอแม่ขะจาน 2.กิ่งอำเภอวาวี 3.กิ่งอำเภอดอยสัก 4.กิ่งอำเภอปล้อง 5.กิ่งอำเภอแม่อ้อ หรือ กิ่งอำเภอพัชรกิติยาภา 6.กิ่งอำเภอเรืองนคร]]
 
* * เสนอให้แยกตำบลแม่เจดีย์ ตำบลแม่เจดีย์ใหม่ และตำบลเวียงกาหลง ออกจาก[[อำเภอเวียงป่าเป้า]]ในปี พ.ศ. 2539 เพื่อตั้งเป็น '''กิ่งอำเภอแม่ขะจาน''' อำเภอเวียงป่าเป้า เนื่องจากแม่ขะจานไกลจากตัวเมืองเวียงป่าเป้าแต่มีความเจริญและประชากรเริ่มหนาแน่นกว่า อย่างไรก็ตาม ชื่อกิ่งอำเภอแม่ขะจานยังปรากฏตามเว็บไซต์ต่างๆอย่างไม่เป็นทางการอาจสร้างความสับสนกับผู้อ่านได้ <ref>โป่งน้ำร้อน, http://kanchanapisek.or.th/oncc-cgi/text.cgi?no=12393 </ref> <ref>เจ้าแม่นางแก้ว, http://horoscope.thaiza.com/เจ้าแม่นางแก้ว/196642/</ref>
==สังคมวัฒนธรรม==
ประชากรส่วนมากเป็นชาวพื้นเมือง ที่อพยพมาจาก จังหวัดลำปาง จังหวัดเชียงใหม่ (ไทยวน) จังหวัดลำพูน (ไทยอง) ประมาณร้อยละ 75 นอกนั้นเป็น ชาวเขา เช่น ปกากะญอ(กะเหรี่ยง) ม้ง เย้า อาข่า มูเซอดำ ลีซอ ศาสนาที่นับถือกันคือ ศาสนาพุทธ รองลงมาเป็นคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก และโปแตสแตนต์ ประเพณีที่สำคัญทางพุทธศาสนาก็คือ ประเพณีตานก๋วยสลาก ปอยหลวง สรงน้ำพระธาตุต่าง ๆ จะมีขึ้นในวันเพ็ญเดือน 6 ส่วนประเพณีท้องถิ่นจะมีก่อนวันเพ็ญเดือน 7 ประมาณ 1-2 วัน เช่น การลงผีมด ( เป็นการเข้าทรงของเทวาอารักษ์ประจำหมู่บ้าน) การฟ้อนผีเม็ง ( เป็นการเข้าทรงของเทวาอารักษ์ที่อาศัยอยู่สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ) การไหว้ผีปู่ย่า ( ผีบรรพบุรุษ ) ส่วนวัฒนธรรมในการดำรงชีพ เช่น การกิน การอยู่อาศัย มีลักษณะคล้ายคลึงกันทั่วไปในภาคเหนือล้านนา
 
มีการก่อสร้างมัสยิดในเขตตำบลแม่เจดีย์ใหม่ ทั้ง ๆ ที่ไม่มีศาสนิก ชุมชนมุสลิม หรือสัปบุรุษในพื้นที่เลย<ref>Nation Channel Social. ''[http://www.nationchannel.com/main/news/social/20120524/27824580/ ชุมนุมคัดค้านสร้างมัสยิดเชียงรายบานปลายหนัก]''. วันที่ 11 กรกฎาคม 2555. สืบค้นวันที่ 11 กรกฎาคม 2555</ref> สร้างความไม่พอใจแก่กลุ่มชาวบ้าน และเกิดการต่อต้านจากกลุ่มชาวพุทธในพื้นที่<ref>Muslim Thai News. ''[http://news.muslimthaipost.com/content.php?page=sub&category=78&id=11042 เครือข่าย 3 จังหวัดภาคเหนือชุมนุมคัดค้าน สร้างมัสยิดเชียงราย อ้างเป็นแผนยึดครองประเทศ ของชนชาติมุสลิม]''. สืบค้นวันที่ 11 กรกฎาคม 2555</ref>
 
==เศรษฐกิจ==
อาชีพราษฎรส่วนใหญ่ ทำการเกษตรกรรม มีพื้นที่นาประมาณ 39,347 ไร่ ที่ไร่ ประมาณ 28,500 ไร่ พืชเศรษฐกิจที่สำคัญได้แก่ ข้าวเหนียวและข้าวเจ้ามีเพียงเล็กน้อย แต่จะมี
โรงสีข้างอยู่จำนวนมากบริเวณบ้านหม้อ ตำบลป่างิ้ว ส่วนมากจะรับจ้างสีข้าวส่งที่จังหวัดเชียงใหม่ โรงงานผสมปูนซีเมนต์สำเร็จรูปและผสมยางแอสฟั้นส์ กับหินละเอียด ตั้งอยู่เขตตำบลเวียงกาหลง
มีการใช้น้ำมันเตาในการเผายางแอสฟั้นส์(ยางมะตอย)ในการทำยางผสมแอสฟั้นส์ติก เพื่อใช้ในการก่อสร้างถนน ส่วนพืชไร่ที่สำคัญ คือ ขิง จะมีโรงงานดองขิง บริษัท ชวี่ เฉวียน ฟูดส์ จำกัด ตั้งอยู่บริเวณตำบล
เวียงกาหลง ซึ่งได้ส่งออกไปยังประเทศญี่ปุ่น ทำรายได้ให้แก่ราษฎรปีละประมาณ 100 ล้านบาท โรงงานดองผักกาดดอง ตั้งอยู่ด้านทิศเหนือของอำเภอ ส่วนพืชชนิดอื่น เช่น กะหล่ำปีจะปลูกมากบนที่ราบสูงโดยเฉพาะชาวเขาได้ทำการปลูกจำนวนมาก ซึ่งเป็นสาเหตุของการทำไร่เลื่อนลอย ถางและเผาป่า ใบชาเมี่ยงก็ปลูกกันมากบริเวณหุบเขาผีปันน้ำ เพราะอากาศเย็นตลอดปี มีจำหน่ายในตลาดบ้านแม่ขะจาน โดยเฉพาะใบชาตราแม่ค้าที่ขึ้นชื่อด้านรสชาติ อาชีพการเพาะเห็ดเป็นอาชีพอีกอาชีพหนึ่งที่ทำรายได้ให้เกษตรกรกลุ่มหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นเห็ดฟาง ( จะเริ่มทำการ
เพาะเห็ด ประมาณเดือน กุมภาพันธ์ – ตุลาคม ) เห็ดแชมปิยอง ( ระเริ่มทำการเพาะเห็ดประมาณเดือน ตุลาคม – กุมภาพันธ์ เพราะเห็ดชนิดนี้ชอบอากาศเย็นในการออกผลผลิต ) ส่วนเห็ดที่สามารถทำการเพาะได้ตลอดปี คือ เห็ดหอม เห็ดนางฟ้า นางรม เห็ด แต่ก็มีการเพาะเห็ดเป๋าฮื้อเหมือนกัน แต่มีไม่มาก สำหรับตลาดที่รับซื้อที่สำคัญคือ โครงการหลวงดอยคำ อำเภอฝาง บริษัทส่งออกเห็ดแปรรูป
นิคมอุตสาหกรรมจังหวัดลำพูนโรงงาน UFC จังหวัดลำปาง และส่งขายปลีกให้แก่แม่ค้าภายในอำเภอเพื่อจำหน่ายแก่ประชาชนทั่วไป
 
==สถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ==
* '''พระธาตุแม่เจดีย์''' สร้างเมื่อปี พ.ศ. 1583 เป็นพระเจดีย์รูปแบบทรงพม่า ซึ่งพระเจ้าอโนธรามังช่อ กษัตริย์พม่าได้ก่อสร้าง เมื่อยกทัพผ่านมาและพักแรมบริเวณดังกล่าว ภายในวัดมี
อ่างเก็บน้ำห้วยแม่คำมา เป็นแหล่งเพาะพันธ์ปลาหลากหลายพันธุ์ และมีกิจกรรมการอนุรักษ์ป่าไม้โดยพระสงฆ์ อยู่ที่บ้านแม่เจดีย์ หมู่ที่3 ต.แม่เจดีย์ กม.ที่ 113 ถนนสายเชียงราย-เชียงใหม่
* '''พระธาตุม่อนพระเจ้าหลาย''' วัดพระเจ้าหลวง(ม่อนพระเจ้าหลาย) พระธาตุม่อนพระเจ้าหลายเป็นพระธาตุที่เก่าแก่ กว่าพันปี ไม่ปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่าใครเป็นคนสร้างขึ้นมา ใน พ.ศ. 2495 พระธาตุม่อนพระเจ้าหลาย มีความเป็นมาสลับซบซัอน อัศจรรย์ ตามที่คนโบราณได้เล่าสืบต่อกันมาพระธาตุม่อนพระเจ้าหลายนี้มีถ้ำอัศจรรย์อยู่ ซึ่งภายในมีพุทธรุปศักดิ์สิทธิ์มากมายมหาศาล อีกทั้งยังมีเครื่องทรงของใช้สอยของกษัตริย์ในสมัยเก่าก่อนมาเก็บไว้ในถ้ำแห่งนี้ยามมีภัยแล ภายในวัดมีสถานที่ต่างๆและยังมีพระธาตุม่อนพระเจ้าหลายตั้งสูงตระการบนยอดเขาอย่างเด่นชัด เวลากลางคืนสะท้อนแสงสีทองแจ้งกระจัดอย่างสวยงาม โดยสร้างเสร็จเมื่อปี พ.ศ 2554 ครอบพระธาตุองค์เดิมที่มีอายุหลายพันปีและพระบรมสารีริกธาตุ ตั้งอยู่ 254 หมู่ 5 ต.แม่เจดีย์
* '''เมืองโบราณเวียงกาหลง''' ครั้งสมัยพระเจ้าอโนธรามังช่อ กษัตริย์พม่า ได้เดินทัพไปยังกัมพูชา ได้หยุดทัพและพักแรม ระหว่างได้ก่อสร้างพระธาตุเจดีย์ ได้ใช้เวลานาน จึงได้สร้างเมืองบริเวณด้านทิศตะวันออก และได้มีการขุดคูล้อมรอบตัวเมือง เพื่อป้องกันข้าศึกสัตรูที่จะมารุกราน และได้ขุดดินมาทำอิฐเพื่อสร้างพระธาตุเจดีย์ ระหว่างนั้นก็ได้ทำเครื่องปั้นดินเผาประเภทต่างๆ เช่น ถ้วย ชาม หม้อ แจกัน เพื่อนำมาใช้และมาแลกข้าวปลาอาหารกับชาวบ้านทั่วไป ปัจจุบันเหลือแต่คูเมืองไว้เป็นหลักฐานและเตาเผาลักษณะคล้ายกระดองเต่า กว้าง 2 เมตร ยาว 3 เมตร และมีเศษเครื่องปั้นที่แตกและอยู่ในสภาพดี ฝังอยู่โดยรอบ ชาวบ้านได้ขุดและนำมาขายให้แก่พ่อค้าในราคาสูง
* '''สวนสาธรณะบ้านชุ่มเมืองเย็น''' ตั้งอยู่ที่ถนนเชียงใหม่-เชียงราย ด้านหน้ามีองค์พระครูบาศรีวิชัย นักบุญแห่งล้านนาขนาดใหญ่ตั้งอยู่ เป็นสถานที่พักผ่อนอย่อนใจมีลำธารที่ใสสะอาดตลอดทั้งสวน รวมถึงเป็นสะดือแห่งอาณาจักรล้านนา มีการจำหน่ายอาหาร เครื่องดื่มรวมถึงยังเป็นสถานที่เล่นน้ำในช่วงสงกรานต์
* '''ดอยลังกา'''* เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในจังหวัด มีความสูง 2,031 เมตรจากระดับน้ำทะเลซึ่งยอดเขามีขนาดสูงสุดเป็นอันดับ5ของประเทศ ประกอบด้วยดอยผาโง้ม ดอยลังกาน้อยและดอยลังกาหลวง จุดเด่นของเส้นทางเดินป่าเส้นนี้คือ การเดินตามแนวสันดอยไปตลอดเส้นทางได้พบได้เห็นป่าสภาพต่างๆ มีทั้งป่าดิบเขา ป่าสน และทุ่งหญ้าบนดอยสูง ป่าที่นี่มีความหลากหลายทำให้นักเดินทางไม่รู้สึกเบื่อหน่าย ตลอดเส้นทางเดินบนสันดอยจะมองเห็นภาพวิวที่สวยงาม ดอกไม้ก็มีมาก มีทั้งดอกกุหลาบขาว ดอยลังกาที่มีลักษณะเฉพาะจะออกดอกสวยงามในฤดูหนาว นอกจากนี้ยังมีดอกไม้สวยแปลกตาอีกหลายชนิด ตังอยู่ที่ อุทยานแห่งชาติขุนแจ ต.แม่เจดีย์ใหม่
* '''บ่อน้ำพุร้อน''' มีอยู่ 2 แห่ง บ่อน้ำพุร้อนแม่ขะจาน หมู่ 6 ต.แม่เจดีย์ใหม่ กม.ที่ 120 ถนนเชียงราย – เชียงใหม่ และบ้านโป่งเทวี ถนนเวียงป่าเป้า – พร้าว กม.ที่ 3 มีร้านขายของที่ระลึก และเครื่องดื่มอาหาร เหมาะสำหรับการหยุดพักเวลาเดินทางผ่านไปมา
* '''หมู่บ้านแม่ขะจาน''' เป็นหมู่บ้านที่ครอบคลุมถนนเชียงราย - เชียงใหม่ และ แม่ขะจาน - วังเหนือ เป็นย่านเศรษฐกิจสำคัญของชาวบ้านมีการจำหน่ายสินค้า ของฝากจากหัตถกรรมชาวบ้านมากมาย สำหรับนักท่องเที่ยวที่ใช้ถนนเส้นนี้ผ่านไปมา
* '''เขื่อนดอยงู''' ตั้งอยู่ที่ ต.แม่เจดีย์ อ.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย สร้างเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2551 ตั้งอยู่ห่างจากหมู่บ้านแม่ขะจาน ไปทางทิศตะวันตก ประมาณ 5 กิโลเมตร โดยแยกออกจากถนนเส้นเชียงใหม่-เชียงราย เข้าไปทางวัดหลวงราชเจริญธรรม ระหว่างทางจะเป็นหมู่บ้านและพื้นที่ทำการเกษตรของชาวบ้าน เขื่อนดอยงู มีลักษณะเป็นทำนบดิน บริเวณสันเขื่อนจะเป็นถนน ซึ่งมีทัศนียภาพที่สวยงาม มองเห็นพื้นน้ำ ป่าไม้ และท้องฟ้า ถือเป็นประโยชน์ทางอ้อมของเขื่อนดอยงูแห่งนี้ ที่นอกจากจะมีประโยชน์ทางด้านการเกษตรแล้ว ยังเป็นสถานที่พักผ่อนย่อนใจ
* '''อ่างเก็บน้ำแม่ฉางข้าว''' ตั้งอยู่พื้นที่เขตอุทยานแห่งชาติขุนแจ หมู่ที่ 10 ต.ป่างิ้ว เป็นอ่างเก็บน้ำสำหรับการเกษตรในฤดูแล้ง ครอบคลุมพื้นที่การเกษตร 2 ตำบล ประมาณ 1 หมื่นกว่าไร่
 
==อ้างอิง==