ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 1 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q1519293 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่
บรรทัด 1:
| full_name = วัดไผ่ล้อม| common_name = วัดไผ่ล้อม| image_temple = Bangkok Wat Ratchaorotsaram 001.JPG
{{กล่องข้อมูล พุทธศาสนสถาน
| short_describtion = วัดไผ่ล้อม| | road_name = ถนนพิชัยณรงค์สงคราม| sub_district = ตำบลสวนดอกไม้| district = อำเภอเสาไห้| province = สระบุรี| zip_code =
| full_name = วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร
| common_name = วัดราชโอรสาราม
| image_temple = Bangkok Wat Ratchaorotsaram 001.JPG
| short_describtion = วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร
| type_of_place = [[พระอารามหลวง]]ชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร<ref>[[ราชกิจจานุเบกษา]], [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2458/A/284.PDF ประกาศกระทรวงธรรมการ แผนกกรมสังฆการี เรื่อง จัดระเบียบพระอารามหลวง], เล่ม ๓๒, ตอน ๐ ก, ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๘, หน้า ๒๘๔ </ref>
| branch = [[เถรวาท]] [[มหานิกาย]]
| special_things = วัดประจำ[[รัชกาลที่ 3]]
| principal_buddha =
| important_buddha =
| pre_road =
| road_name = ถนนเอกชัย
| sub_district = แขวงบางค้อ
| district = เขตจอมทอง
| province = กรุงเทพมหานคร
| zip_code =
| tel_no =
| pass_buses =
เส้น 32 ⟶ 18:
}}
 
ประวัติวัดไผ่ล้อม ตำบลสวนดอกไม้ อำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี
'''วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร''' เป็นวัดเก่าแก่เดิมชื่อวัดจอมทอง เป็นวัดที่มีมาก่อนการสร้าง[[กรุงเทพมหานคร]] พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ (ต่อมาคือ [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]) ทรงสถาปนาวัดจอมทองขึ้นใหม่ทั้งพระอาราม เนื่องจากเมื่อครั้งที่ทรงยกทัพไปสกัดทัพ[[พม่า]]ที่[[ด่านพระเจดีย์สามองค์]] [[จังหวัดกาญจนบุรี|กาญจนบุรี]]ใน [[พ.ศ. 2363]] เมื่อกระบวนทัพเรือมาถึงวัดจอมทอง ฝั่งธนบุรีทรงหยุดพักและทำพิธีเบิกโขลนทวารตาม[[ตำราพิชัยสงคราม]] พร้อมทรงอธิษฐานขอให้การไปราชการทัพครั้งนี้ได้ชัยชนะ แต่ปรากฏว่าไม่มีทัพพม่ายกเข้ามา เมื่อยกทัพกลับ พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ได้ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดจอมทองใหม่และถวายเป็น[[พระอารามหลวง]] ได้รับพระราชทานนามใหม่ว่าวัดราชโอรส ซึ่งหมายถึง พระราชโอรสคือ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ในปัจจุบันมี [[พระธรรมกิตติวงศ์]]เป็นเจ้าอาวาส
 
ประวัติความเป็นมาของวัดไผ่ล้อม
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
จากการสัมภาษณ์ นายเพทาย เกตุก่อผล อายุ ๗๘ ปี ซึ่งได้ไปเก็บข้อมูลเมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ จึงได้ความว่า ตามหลักฐานบันทึกไว้ในทะเบียนของวัด แจ้งว่าตั้งอยู่ เลขที่ ๑๖ หมู่ที่ ๑ ตำบล ( สิบต๊ะ ) สวนดอกไม้ อำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี สร้างประมาณปี พ.ศ. ๒๑๒๒ สมัยสมเด็จพระนารายณ์ ส่วนหลักฐานไม่มีผู้ใดได้จดบันทึกไว้ ถาวรวัตถุก็ไม่หลงเหลือไว้ให้ศึกษาค้นคว้าได้
== ดูเพิ่ม ==
ตามประวัติศาสตร์มนุษยชาติในยุคนั้น การที่จะจัดตั้งเป็นประกาศมีสัดส่วนที่มั่นคงไม่มี ส่วนใหญ่จะเป็นเมือง โดยมีเจ้าเมืองปกครองดูแล เมืองที่กล้าเก่งกว่ายกทัพมาโจมตีเมืองที่พ่ายแพ้ก็ตกเป็นเมืองขึ้น หรือถูกกวาดตอนไปรวมเป็นกำลังเสริมที่จะรุกรามขยายอาณาเขต เมื่อรวมได้หลาย ๆ เมืองก็จัดตั้งเป็นประเทศมีเมืองหลวงเป็นศูนย์การปกครอง เช่น กรุงสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา ต่างชาติต่างเผ่าพันธ์ไม่สามารถเข้าไปร่วมกันได้ต่างก็อพยพหนีไปหาที่อยู่ใหม่ที่ไม่สามารถจะไปไหนได้ก็แทรกตัวอยู่เป็นชนกลุ่มน้อยอยู่ในเมืองหรือประเทศนั้น ประเทศไทยจึงมีชนหลายเผ่าพันธ์ เมื่อไปอยู่ชุมชนใด เป็นกลุ่มมากพอต่างก็นำเข้าประเพณีและวัฒนธรรมขึ้นมากำหนดตั้งเพื่อให้เป็นที่ปฏิบัติร่วมชาวไทยนับถือพระพุทธศาสนา ก็พากันจัดตั้งสำนักสงฆ์ เพื่อให้พระสงฆ์มาอยู่ช่วยการปฏิบัติศาสนกิจตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาเมื่อมีพระสงฆ์และชาวพุทธมากขึ้น มีกำลังพอที่จะจัดตั้งสำนักสงฆ์เป็นวัดมีวิสุงคามสีมาได้ก็รวมกันจัดทำ ด้วยเหตุผลดังกล่าวนำมาข้างต้น ก็พอที่จะมีหลักฐานกล่าวถึงประวัติความเป็นมาของวัดไผ่ล้อมได้พอสมควร
* [[พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช)]] เจ้าอาวาสวัดราชโอรสาราม
ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดให้กรมหมื่นเทพทรรักษ์และพระปราบ นำทัพไปตีพม่าออกจากเมืองเชียงแสน พ.ศ. ๒๓๔๗ พม่าแพ้ให้เผาเมืองเชียงแสน รวบรวมผูคนชาวเชียงแสนได้ จำนวน พ.ศ. ๒๓๔๗ คน อพยพลงมาต่างขยายกันอยู่ในระยะที่ผ่านมา เชียงใหม่ ลำปาง น่าน เวียงจันทร์ ส่วนที่นำมา ได้โปรดให้ตั้งบ้านเรือนที่สระบุรีที่เสาไห้ เพราะครั้งนั้นเมืองสระบุรีอยู่เสาไห้ อีกส่วนหนึ่งไปอยู่บ้านคู่เมือง เมืองสระบุรี พวกที่มาจากเชียงแสนบ้านเดิมชื่อ “โยนกนาคนคร ” ภาษาถิ่นเรียกว่า ไทยวน ท้องที่ที่มาตั้งบ้านเรือนอยู่ได้แก่ ตำบลเสาไห้ ( ไผ่ล้อม ) ตำบลสวนดอกไม้ ( สิบต๊ะ ) ตำบลต้นตาล ตำบลพระยาทด ตำบลท่าช้าง ตำบลศาลารีไทย ตำบลบ้านยาง และตำบลหัวปลวก
* [[โรงเรียนวัดราชโอรส]]
หัวหน้าผู้นำอพยพชาวเชียงแสนได้แก่ “ ปู่คัมภีระ ” และได้ตั้งบ้านเรือนพร้อมขุมกำลังผู้ใกล้ชิดอยู่ที่บ้านโบราณ ไผ่ล้อมอยู่คนละด้านของวัดไผ่ล้อม ต่อมาสมัยรัชกาลที่ ๒ ได้แต่งตั้งปู่คัมภีระมีบรรดาศักดิ์เป็น “ พระยารัตนกาศ ” มีหน้าที่คุมกำลังส่งเสบียงให้พลรบยามเกิดศึกสงครามด้านทิศตะวันออก ( ศึกเขมร ) กองกำลังมีกองโตตั้งอยู่ ๓ แห่ง อยู่ที่สี่คิ้ว ๑ กอง โคกกราง ๑ กอง และโคกแย้ ๑ กอง และมีกองม้าอยู่ที่บ้านยาง ๑ กอง ไว้เป็นหน่วยคุ้มกันกองเสบียง เมื่อมีขุมกำลังอำนาจหน้าที่เช่นนี้จึงเชื่อได้ว่า วัดไผ่ล้อมต้องได้รับการพัฒนาเสริมสร้างให้ดีขึ้น โดยฝีมือของชาวไทยวนมาจากเชียงแสน ที่ผู้เขียนได้เห็น อาคาร ได้แก่ โบสถ์ วิหาร ศาลาการเปรียญ ปราสาทหอไตร ปราสาทเสาเดียว กุฏิ ธรรม์มาสน์ หอระฆัง ร้านบาตร และเจดีย์
ปราสาทสระหอไตรรื้อถมสระสร้างศาลาการเปรียญแทน ปราสาทเสาเดียวรื้อ ร้านบาตรรื้อออก กุฏิรื้อทำใหม่ เจดีย์รื้อไป ๑ องค์
สิ่งที่ก่อสร้างขึ้นใหม่ สุสารธรรมขันธ์ เมรุเผาศพ ศาลาสุธรรม ศาลาโรงครัว ศาลาหน้าเมรุ โรงครัวโต๊ะเก้าอี้ ราชรถศพ กุฏิที่พักสงฆ์ ๔ ที่ มณฑปประดิษฐานรูปเหมือน พระอธิการประถม ฐิตธมฺโม อดีตเจ้าอาวาสวัดไผ่ล้อม
ผู้อพยพสายตระกูลปู่คัมภีระได้สืบต่อตำแหน่ง “ พระยารัตนกาศ ” ลูกหลานหลายคนมาสุดท้ายเป็นบุตรของพ่อเฒ่ามหาวงศ์ ได้เป็นนายอำเภอเสาไห้ คนที่ ๒ พ.ศ. ๒๔๓๙ ถึง พ.ศ. ๒๔๔๓ และได้ตั้งบ้านเป็นสำนักงานที่ทำการอำเภอเสาไห้อยู่ที่บ้านไผ่ล้อมนี้
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Wat Ratchaorotsaram|วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร}}
* [http://www.ro.ac.th/ เว็บไซต์โรงเรียนวัดราชโอรส]
* [http://www.dhammathai.org/watthai/bangkok/watratchaorasaram.php วัดราชโอรสาราม ราชวรวิหาร (ทำเนียบวัดไทย)]
{{geolinks-bldg|13.70226|100.465089}}
 
 
[[หมวดหมู่:วัดประจำรัชกาล|3]]
 
[[หมวดหมู่:พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร|ราชโอรสารามราชวรวิหาร]]
 
[[หมวดหมู่:รัชกาลที่ 3]]
 
[[หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยา|ราชโอรสารามราชวรวิหาร]]
 
[[หมวดหมู่:วัดในเขตจอมทอง|ราชโอรสารามราชวรวิหาร]]
ประวัติวัดไผ่ล้อม
{{พระอารามหลวงชั้นเอก}}
 
{{โครงวัดไทย}}
วัดไผ่ล้อม ตั้งอยู่บ้านเลขที่ ๑๖ บ้านไผ่ล้อม ตำบลสวนดอกไม้ อำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ ๙ ไร่ ๒๐ ตาราวา โฉลดเลขที่ ๙๐๔๒ อาณาเขต ทิศเหนือยาว ๓ เส้น ๘ วา ติดกับแม่น้ำแควป่าสัก ทิศใต้ยาว ๒ เส้น ติดต่อกับทุ่ง ทิศตะวันออกยาว ๒ เส้น ๑๗ วา ติดกับโรงงานทอกระสอบ ทิศตะวันตก ยาว ๓ เส้น ๕ วา ติดต่อกับทางสาธารณะ
พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบอยู่ริมแม่น้ำแควป่าสัก อาคารเสนาสนะต่าง ๆ มีอุโบสถกว้าง ๑๗ เมตร ยาว ๓๓ เมตร บูรณะ พ.ศ. ๒๕๐๒ ก่ออิฐถือปูน ศาลาการเปรียญกว้าง ๑๔ เมตร ยาว ๓๔ เมตร สร้างด้วยไม้และคอนกรีต พ.ศ. ๒๕๒๓ หอสวดมนต์กว้าง ๒๐ เมตร ยาว ๒๐ เมตร สร้างด้วยไม้สัก พ.ศ. ๒๔๑๐ กุฏิสงฆ์ จำนวน ๕ หลัง เป็นอาคารไม้ นอกจากนี้มีหอระฆังและวิหาร สำหรับปูชนียสถาน พระประธานในอุโบสถ
วัดไผ่ล้อม สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. ๒๒๑๒ สมัยอยุธยา ได้มีนามตามชื่อบ้าน นับเข้าเป็นวัดชนิดได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาแล้ว ประมาณ พ.ศ. ๒๒๒๒ มีพระภิกษุอยู่จำพรรษา จำนวน ๘ รูป
เจ้าอาวาสมี ๑๒ รูป
รูปที่ ๑ พระปลัดอิน
รูปที่ ๒ พระอาจารย์ศรีวิชัย พ.ศ. ๒๔๕๔
รูปที่ ๓ พระอาจารย์แป้น พ.ศ. ๒๔๕๔ - พ.ศ. ๒๔๕๘
รูปที่ ๔ พระอาจารย์คำมี พ.ศ. ๒๔๕๘ - พ.ศ. ๒๔๖๕
รูปที่ ๕ พระอาจารย์ทองคำ พ.ศ. ๒๔๖๕ - พ.ศ. ๒๔๖๗
รูปที่ ๖ พระอาจารย์คำมูล พ.ศ. ๒๔๖๗ - พ.ศ. ๒๔๗๖
รูปที่ ๗ พระอธิการป้อม ทีปงฺกโร พ.ศ. ๒๔๗๖ - พ.ศ. ๒๔๘๔
รูปที่ ๘ พระอาจารย์เดช พ.ศ. ๒๔๘๔ - พ.ศ. ๒๔๘๙
รูปที่ ๙ พระอาจารย์หลี พ.ศ. ๒๔๘๙ - พ.ศ. ๒๔๙๕
รูปที่ ๑๐ พระอธิการประถม ฐิตธมฺโม พ.ศ. ๒๔๙๗ - พ.ศ. ๒๕๓๕
รูปที่ ๑๑ พระอธิการสุดใจ ถาวโร พ.ศ. ๒๕๓๕ - พ.ศ. ๒๕๔๓
รูปที่ ๑๒ พระสมุห์เมธาภิวัฒน์ ฐิติโก พ.ศ. ๒๕๔๕
เป็นเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน