ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นามสกุลจากราชทินนาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poang6 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
บรรทัด 1:
{{ลบ}}
{{ลบ|ต้นฉบับ ไม่เป็นสารานุกรม}}
 
{{อย่าเพิ่งลบ|ได้แก้ไขเพิ่มเติมข้อมูลอย่างละเอียดถี่ถ้วนแล้ว อีกทั้งได้อ้างอิงแหล่งที่มาอย่างครบถ้วนสมบูรณ์แล้วครับ}}
'''นามสกุลจากราชทินนาม'''
นามสกุลคนไทยนั้นมีมาก ทั้ง[[นามสกุลพระราชทาน]] นามสกุลประทาน และนามสกุลที่ตั้งเองแต่ยังมีนามสกุลอีกประเภทหนึ่งที่มีที่มาจาก[[ราชทินนาม]]ของ[[ขุนนาง]] ทั้งนี้ การที่จะใช้ราชทินนามขุนนางเป็น[[นามสกุล]]ได้ต้องนำความกราบบังคมทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตก่อน เมื่อโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตแล้ว ผู้ขอใช้ราชทินนามเป็นนามสกุลจึงจะไปแจ้งขอเปลี่ยนนามสกุลได้
 
นามสกุลคนไทยนั้นมีหลายประเภท ทั้ง[[นามสกุลพระราชทาน]] นามสกุลประทาน และนามสกุลที่ตั้งเองแต่ยังมีนามสกุลอีกประเภทหนึ่งที่มีที่มาจากราชทินนามของ[[ขุนนาง]] [[ราชทินนาม]] มีความหมายคือ นามที่ได้รับพระราชทาน ซึ่งแสดงถึงตำแหน่งหน้าที่ทางราชการของขุนนางผู้นั้น นามพระราชทานนี้อยู่ต่อท้ายบรรดาศักดิ์ (อันได้แก่เจ้าพระยา พระยา พระ หลวง ขุนหมื่น พัน ทนาย ฯ) ในบางกรณี ราชทินนาม พระเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯให้เจ้ากระทรวงแต่งตั้งให้แก่ชนชั้นขุนนางที่ได้รับบรรดาศักดิ์ ดังนั้นราชทินนาม เป็นความดีความชอบที่มอบให้แก่ชนชั้นปกครอง ซึ่งไม่ได้รับเงินเดือนในสมัยกรุงศรีอยุธยา นอกจากนี้ ราชทินนาม ยังใช้สำหรับสมณศักดิ์ชั้นสัญญาบัตรที่พระเจ้าแผ่นดินพระราชทานแก่พระภิกษุสงฆ์ เช่นเจ้าคณะฯ
 
นามสกุลคนไทยนั้นมีมาก ทั้ง[[นามสกุลพระราชทาน]] นามสกุลประทาน และนามสกุลที่ตั้งเองแต่ยังมีนามสกุลอีกประเภทหนึ่งที่มีที่มาจาก[[ราชทินนาม]]ของ[[ขุนนาง]] ทั้งนี้ การที่จะใช้ราชทินนามขุนนางเป็น[[นามสกุล]]ได้ต้องนำความกราบบังคมทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตก่อน เมื่อโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตแล้ว ผู้ขอใช้ราชทินนามเป็นนามสกุลจึงจะไปแจ้งขอเปลี่ยนนามสกุลได้
ก่อนที่จะเสนอนามสกุลจากราชทินนาม ต้องกล่าวถึงที่มาของการนำราชทินนามเป็นนามสกุลก่อน ในปี ๒๔๘๔ ได้มีการตรา[[พระราชบัญญัติ]]ชื่อบุคคล พุทธศักราช ๒๔๘๔
ในมาตรา ๑๘ ของกฎหมายฉบับนี้ มีข้อความว่า
"มาตรา ๑๘ ผู้ใดประสงค์จะขอใช้ราชทินนามของตนทั้งหมดหรือแต่บางส่วนเป็นชื่อสกุล ให้ยื่นเรื่องราวต่อรัฐมนตรีเพื่อถวายต่อพระมหากษัตริย์ ถ้าได้รับพระบรมราชานุญาตและนำหลักฐานไปจดทะเบียนต่อกรมการอำเภอ ณ ที่ว่าการอำเภอท้องที่ซึ่งผู้ยื่นเรื่องราวมีภูมิลำเนาแล้ว จึงให้ถือว่าเป็นชื่อสกุลอันชอบด้วยกฎหมาย"
 
"ในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล]] มีพระบรมราชานุญาตให้ใช้นามสกุลจากราชทินนาม ตามความในมาตรา ๑๘ แห่ง[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2484/A/1385.PDF พระราชบัญญัติชื่อบุคคล พุทธศักราช ๒๔๘๔ ]ว่า "ผู้ใดประสงค์จะขอใช้ราชทินนามของตนทั้งหมดหรือแต่บางส่วนเป็นชื่อสกุล ให้ยื่นเรื่องราวต่อรัฐมนตรีเพื่อถวายต่อพระมหากษัตริย์ ถ้าได้รับพระบรมราชานุญาตและนำหลักฐานไปจดทะเบียนต่อกรมการอำเภอ ณ ที่ว่าการอำเภอท้องที่ซึ่งผู้ยื่นเรื่องราวมีภูมิลำเนาแล้ว จึงให้ถือว่าเป็นชื่อสกุลอันชอบด้วยกฎหมาย"
ทันทีที่พระราชบัญญัติฉบับนั้นประกาศใช้อย่างเป็นทางการ ก็มีผู้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตใช้ราชทินนามเป็นนามสกุลในครั้งแรก ดังนี้
 
ทันทีที่[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2484/A/1385.PDF พระราชบัญญัติฉบับดังกล่าวนั้น]ประกาศใช้อย่างเป็นทางการ ก็มีผู้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตใช้ราชทินนามเป็นนามสกุลในครั้งแรก[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2484/D/4525_2.PDF จำนวน๑๐คน]ดังนี้
 
๑. จอมพล หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขิตตะสังคะ) ขอใช้นามสกุล พิบูลสงคราม
เส้น 31 ⟶ 32:
๑๐. ขุนสมาหารหิตะคดี (โป-ระ โปรคุปต์) ขอใช้นามสกุล สมาหาร
 
การขอพระราชทานใช้ราชทินนามเป็นนามสกุล เป็นผลสืบเนื่องมาจากการยกเลิกบรรดาศักดิ์ในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี ที่กำหนดให้ข้าราชการเลิกใช้บรรดาศักดิ์ คงเป็นนายเท่าเทียมกันทั้งหมด จึงทำให้บรรดา[[ข้าราชการ]]ที่เคยมีบรรดาศักดิ์และเคยรู้จักกันทั่วไปราชทินนามต่างๆ พากันนำราชทินนามมาใช้ร่วมกับนามและนามสกุลเดิม เช่น [[พระยาภะรตราชา]] อดีตผู้บัญชาการ[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ก็ได้เปลี่ยนมาใช้นามตาม[[รัฐนิยม]]ว่า หม่อมหลวงทสทิส อิสรเสนา ภะรตราชา ,[[พระยาอนุมานราชธน]] ท่านก็เปลี่ยนมาเป็น นายยง เถียรโกเสส อนุมานราชทน
๑๗ พ.ย. ๒๔๘๔
 
ต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขพระราชบัญญัติชื่อบุคคล พุทธศักราช ๒๔๘๔ เป็น [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2505/A/104/5.PDF พระราชบัญญัติชื่อบุคคล พุทธศักกราช ๒๕๐๕]โดยในมาตราที่๑๙ บัญญัติว่า"ผู้ใดประสงค์จะใช้ราชทินนามของตน ของผู้บุพการีหรือของผู้สืบสันดานเป็นชื่อสกุล ให้ยื่นคำขอต่อนายทะเบียนท้องที่ในท้องที่ที่ตนมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร แล้วให้นายทะเบียนท้องที่นั้นเสนอต่อไปตามลำดับจนถึงนายทะเบียนกลาง เมื่อนายทะเบียนกลางพิจารณาเห็นสมควร ให้เสนอรัฐมนตรีเพื่อนำความกราบบังคมทูล เมื่อได้รับพระบรมราชานุญาตแล้ว จึงให้นายทะเบียนท้องที่รับจดทะเบียนชื่อสกุลนั้น และออกหนังสือสำคัญแสดงการรับจดทะเบียนชื่อสกุลให้แก่ผู้ขอ"
 
 
== อ้างอิง ==
*http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2484/A/1385.PDF
*http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2484/D/4525_2.PDF
*http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2505/A/104/5.PDF
*http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2550/E/192/1.PDF
*http://www.reurnthai.com/index.php?topic=3350.0
*http://chatchawan1970.wordpress.com/