ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อียิปต์โบราณ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Krupong (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ Krupong (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Nullzerobot
บรรทัด 2:
{{ราชวงศ์อียิปต์}}
[[ไฟล์:All Gizah Pyramids.jpg|thumb|250px|[[เมมฟิสและสุสานโบราณ]]]]
'''อียิปต์โบราณ''' หรือ '''ไอยคุปต์''' เป็นหนึ่งใน[[อารยธรรม]]ที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ทางตอนตะวันออกเฉียงเหนือของ[[ทวีปแอฟริกา]] มีพื้นที่ตั้งแต่ตอนกลางจนถึงปาก[[แม่น้ำไนล์]] ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ[[ประเทศอียิปต์]] อารยธรรมอียิปต์โบราณเริ่มขึ้นประมาณ 51503150 ปีก่อนคริตศักราช <ref> {{cite web|url=http://www.digitalegypt.ucl.ac.uk/chronology/index.html|title=Chronology|accessdate=2008-03-25|publisher=Digital อียิปต์สำหรับมหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยวิทยาลัยแห่งลอนดอน}}</ref> โดยการรวมอำนาจทางการเมืองของอียิปต์ตอนเหนือ และตอนใต้ และตะวันออก ภายใต้[[ฟาโรห์]]องค์แรกแห่งอียิปต์ ซึ่งเป็นผู้ที่โหดร้าย มีอำนาจ ฟาโรห์ประดุจดั่งเทพ และเจ้าโลก และมีการพัฒนาอารยธรรมเรื่อยมากว่า 43,000 ปี <ref>Dodson (2004) หน้า 46</ref> ประวัติของอียิปต์โบราณปรากฏขึ้นในช่วงระยะเวลาหนึ่ง หรือที่รู้จักกันว่า "ราชอาณาจักร" มีการแบ่งยุคสมัยของอียิปต์โบราณเป็นราชอาณาจักร ส่วนมากแบ่งตามราชวงศ์ที่ขึ้นมาปกครอง มีการสู้รบกันเพื่อจะขึ้นครองบัลลังค์ โดนอาจจะฆ่ากันเองในพระราชวงค์ จนกระทั่งราชอาณาจักรสุดท้าย หรือที่รู้จักกันในชื่อว่า "ราชอาณาจักรใหม่" อารยธรรมอียิปต์อยู่ในช่วงที่มีการพัฒนาที่น้อยมาก และส่วนมากลดลง ซึ่งเป็นเวลาเดียวกันที่อียิปต์ชนะพ่ายแพ้ต่อการทำสงครามจากอำนาจของชาติอื่นมากมายจนมีแผ่นดินเป็นอณาบริเวณกว้างทำ จนกระทั่งเมื่อ 250031 ปีก่อนคริตศักราชก็เป็นการสิ้นสุดอารยธรรมอียิปต์โบราณลง เมื่อ[[พวกยิบซีจักรวรรดิโรมัน]]สามารถเอาชนะอียิปต์ และจัดอียิปต์เป็นมืองหลวงเพียงจังหวัดหนึ่งในจักรวรรดิโรมัน <ref>Clayton (1994) หน้า 217</ref>
 
อารยธรรมอียิปต์พัฒนาการมาจากสภาพของลุ่มแม่น้ำไนล์ การควบคุมระบบชลประทาน สร้างสะพานส่งน้ำ ฝายกั้นน้ำ, การควบคุมการผลิตพืชผลทางการเกษตร พร้อมกับพัฒนาอารยธรรมทางสังคม และวัฒนธรรม พื้นที่ของอียิปต์นั้นล้อมรอบด้วยทะเลทรายเสมือนปราการป้องกันการรุกรานจากศัตรูภายนอก มีการสร้างบ้านด้วยทรายและดิน หิน โดนก่อขึ้นและนำไปเผาไฟทำให้ได้บ้านดินที่แข็งแรง นอกจากนี้ยังมีการทำเหมืองแร่ขุดทอง และอียิปต์ยังเป็นชนชาติแรกๆที่มีการพัฒนาการด้วยการเขียน การพิมพ์ ประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้ ,การบริหารอียิปต์เน้นไปทางสิ่งปลูกสร้าง เครื่องมือเครื่องใช้ และการเกษตรกรรม พร้อมกันนั้นก็มีการพัฒนาการทางทหารของอียิปต์ที่เสริมสร้างความแข็งแกร่งแก่ราชอาณาจักร โดยประชาชนจะให้ความเคารพกษัตริย์หรือฟาโรห์เสมือนหนึ่งเทพเจ้า ทำให้การบริหารราชการบ้านเมืองและการควบคุมอำนาจนั้นทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
ชาวอียิปต์โบราณไม่ได้เป็นเพียงแต่นักปศุสัตว์เกษตรกรรม และนักสร้างสรรค์อารยธรรมเท่านั้น แต่ยังเป็นนักคิด, นักปรัชญา (มีนักปรัชญาอียิป ได้บึนทึกเป็นอังษร ฮีโรกริฟฟิค และทำห้องสมุดใต้ดินของอียิปต์โดยใช้ดินเหนียวเผาไฟเป็นทั่งและเขียนด้วยตราปั๊มหิน เก็บไว้ที่เมืองไคโร โดยปัจจุบันห้องสมุดนี้ได้ถล่มลงไปแล้ว) ได้มาซึ่งความรู้ในศาสตร์ต่างๆมากมายตลอดการพัฒนาอารยธรรมกว่า 3,000 ปี ทั้งในด้านคณิตศาสตร์, เทคนิคการสร้างพีระมิด, วัด, โอเบลิสก์, ตัวอักษร และเทคนิคโลยีด้านกระจกเงากระจก นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาประสิทธิภาพทางด้านการแพทย์,การผ่าตัด, ระบบชลประทานและการเกษตรกรรม อียิปต์ทิ้งมรดกสุดท้ายแก่อนุชนรุ่นหลังไว้คือศิลปะ เครื่องสังคโลค สถูป และ สถาปัตยกรรม ซึ่งถูกคัดลอกนำไปใช้ทั่วโลก อนุสรณ์สถานที่ต่างๆในอียิปต์ต่างดึงดูดนักท่องเที่ยว นักประพันธ์กว่าหลายศตวรรษที่ผ่านมา ปัจจุบันมีการค้นพบวัตถุใหม่ๆในอียิปต์มากมายซึ่งกำลังตรวจสอบถึงประวัติความเป็นมา เพื่อเป็นหลักฐานให้แก่อารยธรรมอียิปต์ และเป็นหลักฐานแก่อารยธรรมของโลกต่อไป <ref>James (2005) หน้า 84</ref>
 
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:Ancient Egypt map-en.svg|thumb|left|200px|แผ่นที่อียิปต์โบราณ, แสดงถึงสถานที่ตั้งเมืองและบริเวณ ในสมัยยุคราชวงศ์ (3150 - 30030 ปีก่อนคริสต์ศักราช)]]
 
''ดูบทความเพิ่มเติมที่ [[ประวัติอียิปต์โบราณ]]''