ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คลองบางลำพู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''คลองบางลำพู''' เป็นส่วนหนึ่งของ[[คลองรอบกรุง]]ทางตอนเหนือ เริ่มจากปากโดยเป็นคลองขุดขนาดกว้างและลึกพอสมควรที่เชื่อม[[แม่น้ำเจ้าพระยา]]จรดปากกับ[[คลองมหานาค]] ด้วยเหตุนี้จึงมีเรือจำนวนมากล่องมาค้าขายและจอดเรียงรายอยู่ริมคลอง
{{ต้องการอ้างอิง}}
 
'''คลองบางลำพู''' เป็นส่วนหนึ่งของ[[คลองรอบกรุง]]ทางตอนเหนือ เริ่มจากปาก[[แม่น้ำเจ้าพระยา]]จรดปาก[[คลองมหานาค]]
ด้วยเหตุที่ภูมิสถานของคลองมี[[ลำพู|ต้นลำพู]]อยู่มาก ยามค่ำคืนก็มี[[หิ่งห้อย]]มาเกาะตามต้นลำพูส่องแสงระยิบระยับจึงเรียกชื่อบางดังกล่าว่า "บางลำพู" ด้วยเหตุนี้เมื่อมีการขุดลอกคลองเพื่อขยายพระนครในปี พ.ศ. 2326 เพื่อเชื่อมแม่น้ำเจ้าพระยาหน้าวัดสังเวชวิศยารามไปจรดคลองมหานาค จึงเรียกชื่อคลองตามชื่อบางว่า "คลองบางลำพู"<ref name= "ย่านเก่า">ปราณี กล่ำส้ม. ''ย่านเก่าในกรุงเทพฯ [เล่ม ๑]''. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:เมืองโบราณ. 2549, หน้า 85-87</ref>
 
รัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] คลองบางลำพูเคยเป็นเส้นทางเสด็จพระราชดำเนินโดยกระบวนพยุหยาตราทางชลมารครอบพระนคร เมื่อ พ.ศ. 2394 หลังจากนั้นเป็นต้นมา บางลำพูก็มีความเจริญเพิ่มขึ้นโดยลำดับ มีผู้คนเข้ามาตั้งบ้านเรือนริมคลอง ด้วยอาศัยคลองเป็นเส้นทางคมนาคมและทำการค้าขายเป็นจำนวนมาก ทั้งเป็นแหล่งค้าขายสินค้าจำพวกผลหมากรากไม้และเรือต่าง ๆ เช่น [[เรือประทุน]] หรือ[[เรือสำปั้น]] เป็นต้น<ref name= "ย่านเก่า"/> เมื่อล่วงเข้ารัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ได้มีการตัดถนนและสะพาน ทำให้เกิดความเจริญและมีตลาดร้านรวงมากมาย<ref>{{cite web |url=http://www.lek-prapai.org/watch.php?id=742|title=วันวานที่ย่านบางลำพู|author= อภิญญา นนท์นาท|date=|work= |publisher=มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์|accessdate=14 มิถุนายน 2557}}</ref>
 
== คลองรามบุตรี ==
มีคลองขนาดเล็กสายหนึ่งใกล้กับคลองบางลำพูเชื่อมจากแม่น้ำเจ้าพระยาเลาะข้าง[[วัดชนะสงคราม]]ออกไปทาง[[วัดบวรนิเวศวิหาร]] ปัจจุบันคลองดังกล่าวถูกถมเป็นถนนรามบุตรีบางคนจึงเรียกอดีตดังกล่าวว่า "คลองถม"<ref name= "ย่านเก่า"/>
 
ส่วนที่เรียกชื่อว่า "รามบุตรี" ก็เนื่องจากหม่อมเจ้าหญิงเป้า สุริยกุล พระธิดาใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยา กรมพระรามอิศเรศ]] ทรงสร้างสะพานข้ามคลองไว้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระราชทานชื่อสะพานนั้นว่า "สะพานรามบุตรี" และทำพิธีเปิดสะพานเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2453 ครั้นเมื่อมีการถมคลองจึงได้เปลี่ยนเป็นชื่อถนนรามบุตรีแทน<ref>ปราณี กล่ำส้ม. ''ย่านเก่าในกรุงเทพฯ [เล่ม ๑]''. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:เมืองโบราณ. 2549, หน้า 97-99</ref><ref>{{cite web |url=http://www.watchanasongkram.ac.th/_files_school/10106996/data/10106996_1_20120308-164037.pdf|title=บางลำพู|author= |date=|work= |publisher=โรงเรียนวัดชนะสงคราม|accessdate=14 มิถุนายน 2557}}</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{ต้องการรายการอ้างอิง}}
 
== เส้นทางการไหลของคลองบางลำพู ==
จากข้อมูลของหนังสือการ์ตูน 99 คำถามเด็ด พิชิตคะแนนประวัติศาสตร์ เรื่องรัตนโกสินทร์และธนบุรีได้กล่าวว่า ได้ไหลผ่านวัดสังเวชวิทยารามไปจนถึง[[สะพานผ่านฟ้าลีลาศ]]ตรงช่วงปาก[[คลองมหานาค]] ชาวบ้านมักเรียกว่า '''"คลองบางลำพู"''' ซึ่งตรงกับชื่อตำบลบางลำพู (คือเขตพระนครในปัจจุบัน) เนื่องจากในอดีตมีต้นลำพูอยู่มาก
{{เรียงลำดับ|บางลำพู}}
{{สร้างปี|2326}}
[[หมวดหมู่:คลองในกรุงเทพมหานคร]]
{{โครงสถานที่}}