ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถั่วปากอ้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PAHs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
PAHs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{Taxobox
| color = lightgreen
เส้น 19 ⟶ 18:
}}
 
'''ถั่วปากอ้า''' ([[ชื่อวิทยาศาสตร์]]: ''Vicia faba'') เป็น[[สปีชีส์]]หนึ่งของ[[ถั่ว]]มีฝักในวงศ์ ''[[Fabaceae]]'' เป็นพืชพื้นเมืองในแถบ[[แอฟริกา]]เหนือและ[[เอเชีย]]ตะวันตกเฉียงใต้ รับประทานจะมีโทษแต่ร่างกายเพราะถั่วปากอ้ามีสารพิษที่ทำให้เกิดโลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงแตกง่าย แต่ก็ยังคงมีการนำไปเพาะปลูกตามที่ต่างๆ บนโลก มีสามสายพันธุ์แบ่งตามขนาดของเมล็ดคือ
== ลักษณะทางกายภาพพฤกษศาสตร์ ==
* ''V. faba'' var. major – broad bean ฝักกลม กว้างและยาว เมล็ดขนาดใหญ่, winsor bean ฝักกลมแบน
* ''V. faba'' var. minor – field bean, tic bean เมล็ดขนาดเล็ก ส่วนใหญ่ปลูกเป็นอาหารสัตว์หรือปุ๋ยพืชสด
* ''V. faba'' var. equita – horse bean เมล็ดขนาดกลาง
 
== ลักษณะทางกายภาพ ==
[[ไฟล์:Tuinboon zaden in peul.jpg|thumbnail|left|ฝักถั่วและเมล็ด]]
[[ไฟล์:Fried broad beans (china).jpg|thumb|left|ถั่วปากอ้างใช้รับประทานเป็นอาหารขบเคี้ยว]]
 
ต้นถั่วปากอ้าเป็นพืชล้มลุก เมื่อโตเต็มที่สูงประมาณ 0.5-1.7 [[เมตร]] ภาคตัดขวางของ[[ลำต้น]]คล้าย[[รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส]] [[ใบ]]ยาว 10-25 เซนติเมตร กิ่งหนึ่งมี 2-7 ใบ และใบมีสีเขียวอมเทาไม่เหมือนกับพืชอื่นๆ ในสกุลเดียวกัน ต้นถั่วปากอ้าไม่มียอดไว้สำหรับเลื้อย [[ดอก]]ของต้นถั่วยาวประมาณ 1-2.5 เซนติเมตร มี 5 กลีบ โดยที่กลีบบนและกลีบรองเกสรมีสีขาวล้วน ส่วนกลีบข้างเป็นสีขาวและมีจุดตรงกลางเป็น[[สีดำ]]
เส้น 33 ⟶ 27:
 
ถั่วปากอ้ามี[[โครโมโซม]]เป็นดิพลอยด์ (2n) จำนวน 6 คู่ โดย 5 คู่มี[[เซนโทรเมียร์]]ที่เกือบถึงจุดปลาย (acrocentric) และ 1 คู่อยู่ที่กึ่งกลางพอดี (metacentric)
== สายพันธุ์ ==
*ถั่วปากอ้ามีสามสายพันธุ์แบ่งตามขนาดของเมล็ดคือ<ref> [http://www.agric-prod.mju.ac.th/vegetable/File_link/viciafaba.pdf ถั่วปากอ้า] โดย รศ.นิพนธ์ ไชยมงคล</ref>
* ''V. faba'' var. major – broad bean ฝักกลม กว้างและยาว เมล็ดขนาดใหญ่, winsor bean ฝักกลมแบน
* ''V. faba'' var. minor – field bean, tic bean เมล็ดขนาดเล็ก ส่วนใหญ่ปลูกเป็นอาหารสัตว์หรือปุ๋ยพืชสด
* ''V. faba'' var. equita – horse bean เมล็ดขนาดกลาง
== การใช้ประโยชน์ ==
[[ไฟล์:Fried broad beans (china).jpg|thumb|left|ถั่วปากอ้างใช้รับประทานเป็นอาหารขบเคี้ยว]]
ถั่วปากอ้ารับประทานได้ตั้งแต่เป็นฝักอ่อน โดยนำมานึ่งหรือต้มใส่เกลือเล็กน้อย ฝักแก่นนำไปลวกน้ำเดือด ปอกเปลือก แกะเมล็ดข้างในไปต้มหรือนึ่งให้สุก ใช้ทำอาหารได้หลายแบบ เช่น ซุป สลัด ผัดกับเนื้อสัตว์ หรืออบรับประทานเป็นของว่างก็ได้<ref>กรณิศ รัตนามหัทธนะ. เมล็ดอ่อนถั่วปากอ้า. ครัว. ปีที่ 19 ฉบับที่ 227. พฤษภาคม 2556. หน้า 14</ref>
 
{{nutritional value
| name = ถั่วปากอ้าเมล็ดแก่ ดิบ
| kJ = 1425
| protein = 26.12 g
| fat = 1.53 g
| carbs = 58.29 g
| fiber = 25 g
| calcium_mg = 103
| iron_mg = 6.7
| magnesium_mg = 192
| phosphorus_mg = 421
| potassium_mg = 1062
| sodium_mg = 13
| zinc_mg = 3.14
| manganese_mg = 1.626
| vitC_mg = 1.4
| thiamin_mg=0.555
| riboflavin_mg=0.333
| niacin_mg=2.832
| vitB6_mg = 0.366
| folate_ug = 423
| vitK_ug = 9
| folate_ug = 423
| source_usda = 1
| note=[http://ndb.nal.usda.gov/ndb/search/list?qlookup=16052&format=Full Link to USDA Database entry]
}}
 
==เกี่ยวกับสุขภาพ==
ถั่วปากอ้าดิบมี[[อัลคาลอยด์]]ชนิด[[วิซีน]]และ[[โควิซีน]]ที่สามารถกระตุ้นอาการเม็ดเลือดแดงแตกในผู้ป่วยที่มี[[โรคพร่องเอนไซม์ G-6-PD|ภาวะพร่องเอนไซม์ glucose-6-phosphate dehydrogenase]]<ref>{{cite web | url=http://www.scienzavegetariana.it/nutrizione/favabeans.html | title=Fava Beans, Levodopa, and Parkinson's Disease | author=Kathrynne Holden}}</ref><ref>{{cite web | url=http://archive.southcoasttoday.com/daily/05-96/05-29-96/c01li096.htm | author=Russ Parsons | title=The Long History of the Mysterious Fava Bean}}</ref> บริเวณที่เป็นจุดกำเนิดของถั่วนี้เกี่ยวข้องกับพื้นที่ที่มี[[มาลาเรีย]] การศึกษาในหลอดทดลองพบว่าการแตกที่เกิดจากการกระตุ้นของถั่วปากอ้าเป็นการป้องกันมาลาเรีย เนื่องจาก[[โปรโตซัว]]ที่ก่อโรคมาลาเรีย เช่น ''[[Plasmodium falciparum]]'' จะไว่ต่อการแตกของเม็ดเลือดแดงที่เกิดจากการพร่องเอนไซม์ [[glucose-6-phosphate dehydrogenase]]<ref>Nelson, L. David; Cox, M. Michael. 2005. ''“Chapter 14- Glycolysis, Gluconeogenesis, and the Pentose Phosphate Pathway”'' in Principles of Biochemistry. Freeman, New York. p. 551.</ref> ถั่วปากอ้ามี[[อีโวโดปา]]มากซึ่งเป็นสารที่ใช้รักษา[[โรคพาร์คินสัน]]<ref>{{cite journal | last1 = Vered | first1 = Y | last2 = Grosskopf | first2 = I | last3 = Palevitch | first3 = D | last4 = Harsat | first4 = A | last5 = Charach | first5 = G | last6 = Weintraub | first6 = MS | last7 = Graff | first7 = E | title = The influence of Vicia faba (broad bean) seedlings on urinary sodium excretion | journal = Planta medica | volume = 63 | issue = 3 | pages = 237–40 | year = 1997 | pmid = 9225606 | doi = 10.1055/s-2006-957661 }}</ref> เปลือกหุ้มเมล็ดถั่วปากอ้ามี[[แทนนิน]]ที่เป็นโพลิเมอร์มาก<ref>The digestibility in piglets of faba bean (Vicia faba L.) as affected by breeding towards the absence of condensed tannins. A. F. B. Van Der Poela, L. M. W. Dellaerta, A. Van Norela and J. P. F. G. Helspera, British Journal of Nutrition (1992), Volume 68 – Issue 03, pp. 793–800, Cambridge University Press {{doi|10.1079/BJN19920134}}</ref>โดยเฉพาะชนิด [[proanthocyanidin]]<ref>Qualitative analysis and HPLC isolation and identification of procyanidins from vicia faba. Rachid Merghem, Maurice Jay, Nathalie Brun and Bernard Voirin, Phytochemical Analysis, Volume 15, Issue 2, pages 95–99, March/April 2004 {{DOI|10.1002/pca.731}}</ref>ที่สามารถยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ได้ <ref>The polyphenolic content and enzyme inhibitory activity of testae from bean (''Vicia faba'') and pea (''Pisum'' spp.) varieties. D. Wynne Griffiths, Journal of the Science of Food and Agriculture, Volume 32, Issue 8, pages 797–804, August 1981, {{DOI|10.1002/jsfa.2740320808}}</ref>
== อ้างอิง ==
{{ต้องการรายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://g6pddeficiency.org/index.php?cmd=legumes Fava beans and G6PD Deficiency information]
* [http://www.agric-prod.mju.ac.th/vegetable/File_link/viciafaba.pdf ถั่วปากอ้า] โดย รศ.นิพนธ์ ไชยมงคล
* [http://www.hort.purdue.edu/newcrop/duke_energy/Vicia_faba.html ''Vicia faba''] at Purdue University
* [http://www.hort.purdue.edu/newcrop/afcm/fababean.html Alternative Field Crops Manual] at Purdue University
 
[[หมวดหมู่:ถั่ว]]
[[หมวดหมู่:วงศ์ย่อยถั่ว]]
[[หมวดหมู่:พืชที่รับประทานได้]]
{{โครงพืช}}