ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิวตรอน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mikukub (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Quark structure neutron.svg|thumb|250px|โครงสร้างภายในของนิวตรอน]]
 
'''นิวตรอน''' ({{lang-en|neutron}}) เป็น[[อนุภาค]]ที่เป็นกลางไม่มี[[ประจุไฟฟ้า]]อยู่ใน[[นิวเคลียส]] มีจำนวนใกล้เคียงกับโปรตอนแต่อาจแตกต่างกันได้ไปตามจำนวนโปรตอนเพราะยิ่งมีโปรตอนมากก็จะเกิดแรงผลักในนิวเคลียส โดย นิวตรอนทำหน้าที่ลดแรงผลังของโปรตอนภายในนิวเคลียส เช่น ใน[[ฮีเลียม]]มีนิวตรอน 2 ตัว เท่ากับโปรตอน แต่ใน[[เหล็ก]]มี 30 ตัว และใน[[ยูเรเนียม]]มีนิวตรอนถึง 146 ตัว นิวตรอนอาจเกิดจากการอัด[[อิเล็กตรอน]]กับโปรตอนดังเช่นใน[[ดาวฤกษ์]]มวลมาก นิวตรอนเกิดจาก[[ควาร์ก]]อัพ 1 อนุภาค และควาร์กดาวน์ 2 อนุภาค มีน้ำหนัก 1.67{{e|−24}} กรัม ซึ่งเท่ากับ[[โปรตอน]] คำว่า "นิวตรอน" มาจาก[[ภาษากรีซ]] ''neutral'' ที่แปลว่า ''เป็นกลาง''
 
[[รัทเธอร์ฟอร์ด]] (Ernest Rutherford) เป็นผู้ตั้งทฤษฎีการมีอยู่ของนิวตรอนเมื่อปี [[ค.ศ. 1920]] โดยเขาพบว่าอะตอมของธาตุทุกชนิด เลขมวลจะมีค่าใกล้เคียงกับ 2 เท่าของเลขอะตอมเสมอ จึงสันนิษฐานได้ว่ามีอนุภาคอีกชนิดหนึ่งที่ยังไม่ถูกค้นพบ