ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สิงโตอินเดีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 37:
หรือแม้กระทั่งใน[[ประวัติศาสตร์ยุโรป]]เอง ก็มีภาพ[[โมเสก]]ของ[[อเล็กซานเดอร์มหาราช]]ทรงร่วมล่าสิงโตกับพระสหาย ซึ่งเชื่อว่าเป็นแม่ทัพชื่อ เฮฟฟาฮิสเตียน เชื่อว่าสิงโตชนิดนั้นก็คือ สิงโตอินเดีย นั่นเอง
 
ทางวัฒนธรรมจีน มีการละเล่น[[เชิดสิงโต]] ซึ่งใน[[ประเทศจีน]]เองไม่มีสิงโตเป็นสัตว์พื้นเมือง เชื่อว่าเป็นการรับมาจากเปอร์เซีย ด้วยการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกันผ่าน[[เส้นทางสายไหม]] <ref>{{cite web|url=http://my.dek-d.com/cnntuntrain55/blog/?blog_id=10159934|title=ประวัติสิงโตเชิด ตอนที่1 |date=15 July 2012|accessdate=10 June 2014|publisher=my.dek-d.com/}}</ref>
 
สิงโตอินเดียตัวเมียเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 4 ปี ซึ่งมากกว่าสิงโตในทวีปแอฟริกา และจะออกลูกในช่วงเดือน[[กุมภาพันธ์]]ถึงต้นเดือน[[เมษายน]] และมีอายุขัยโดยเฉลี่ย 16-18 ปี ในตัวผู้ และตัวเมีย 17-18 ปี พบมากที่สุดคือ 21 ปี ถือว่ามากกว่าสิงโตทวีปแอฟริกา<ref>[http://std.kku.ac.th/4831800546/biology/biology.html ชีววิทยาของสิงโต]</ref>