ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โทริอิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Torii de Miyajima 2.JPG|thumb|250px|upright=1.2|โทะริอิที่[[ศาลเจ้าอิสึกุชิมะ]] เป็นโทะริอิรูปแบบ ''เรียวบุ'']]
{{issues|สั้นมาก=yes|ต้องการอ้างอิง=yes}}
[[ไฟล์:Pentagonal kasagi.jpg|thumb|250px|upright=1.2|โทะริอิของเจ้าที่ริมถนนใน[[นะงะซะกิ (เมือง)|นะงะซะกิ]]]]
[[ไฟล์:Itsukushima torii angle.jpg|thumb|250px|โทริอิที่ศาลเจ้าอิตสึคึชิมะ ที่จังหวัดฮิโรชิมะ]]
 
'''โทะริอิ''' ({{ญี่ปุ่น|鳥居|Torii}}, ความหมาย: ที่ของปักษา) คือซุ้มประตูแบบญี่ปุ่น ตั้งไว้เพื่อให้ผู้คนได้รับรู้ว่า อาณาเขตเบื้องหลังเสาโทะริอินี้เป็นอาณาเขตของเทพเจ้า เพื่อที่ผู้คนจะได้ไม่เผลอกระทำการอันจะเป็นการดูหมิ่นลิ่งศักสิทธิ์<ref name="jato"/> โทะริอิสามารถพบได้ตามศาลเจ้า[[ชินโต]]ตลอดจนวัด[[พุทธ]]บางแห่งในประเทศ[[ญี่ปุ่น]] ซึ่งในแผนที่ของญี่ปุ่น จะใช้สัญลักษณ์โทะริอิ เป็นเครื่องหมายบอกตำแหน่งศาลเจ้าต่างๆ นอกจากนี้ อาจพบโทะริอิได้ถามทางเดินและท้องถนนทั่วไปที่แถวนั้นอาจมีเจ้าที่หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์อยู่ หรือแม้แต่ในป่าหรือภูเขาลึกบางแห่ง
'''โทะริอิ''' ({{ญี่ปุ่น|鳥居|Torii}}) คือประตูทางเข้าของศาลเจ้า[[ชินโต]] แต่ใน[[ประเทศญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]ก็สามารถพบได้ในวัดของ[[ศาสนาพุทธ]]เช่นกัน
 
โทะริอิมีมาตั้งแต่เมื่อใดนั้นไม่อาจทราบได้ แต่บันทึกที่เก่าแก่ที่สุดที่เขียนถึงโทะริอิ ถูกเขียนเมื่อ ค.ศ. 922 ในช่วงกลางยุค[[เฮอัง]]<ref name="jato"/> โทะริอิหินที่เก่าแก่ที่สุดในปัจจุบัน สร้างในศตวรรษที่ 12 เป็นโทะริอิของ[[ศาลเจ้าฮะชิมัง]]ใน[[จังหวัดยะมะงะตะ]] ใขณะที่โทะริอิไม้ที่เก่าแก่ที่สุดในปัจจุบัน สร้างขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1535 เป็นโทะริอิของศาลเจ้าคุโบฮะชิมัง ใน[[จังหวัดยะมะนะชิ]]<ref name="jato">{{cite web|url=http://www.aisf.or.jp/~jaanus/deta/t/torii.htm|title=JAANUS|work=Torii|accessdate=14 January 2010}}</ref>
 
โทะริอิแบบดั้งเดิมนั้นจะถูกสร้างด้วยไม้หรือหิน แต่ในปัจจุบัน โทะริอิบางต้นอาจถูกสร้างด้วย[[คอนกรีต]]เสริมเหล็ก ซึ่งโทะริอินั้น มีทั้งแบบทาสีและไม่ทาสี หากทาสี จะทาสี[[ชาด (วัตถุ)|ชาด]]ที่ลำต้น และคานด้านบนสุดจะทาด้วยสีดำ [[ศาลเจ้าฟุชิมิ-อินะริ]] ใน[[นครเคียวโตะ]] นั้น มีโทะริอิมากกว่าพันต้น แต่ละต้นจะจารึกชื่อผู้บริจาค<ref>{{cite web | url=http://mmjarboe.com/historical.html | title=Historical Items about Japan | publisher=Michelle Jarboe| date=2007-05-11|accessdate=2010-02-10}}</ref>
 
โทะริอิ มีความหมายว่า "ที่ของนก" ในญี่ปุ่น มีความเชื่อว่า นกถือเป็นสัตว์ที่มีความเกี่ยวข้องกับโลกหลังความตาย ซึ่งความเชื่อนี้อาจจะมาจากบันทึกโบราณ ''[[โคะจิกิ]]'' และ ''[[นิฮงโชะกิ]]'' ที่กล่าวถึงพิธีศพของ [[ยะมะโตะ ทะเกะรุ]] โอรสใน[[จักรพรรดิเคโก]]ในตำนาน ว่าเมื่อทะเกะรุสิ้นสิ้นชีพิตักสัยแล้ว ได้ปรากฎร่างนกสีขาวและบินไปเลือกสถานที่ฝังศพของตนเอง ด้วยเหตุนี้ สถานที่ฝังศพของเขาจึงถูกเรียกว่า ''ชิระโทะริ มิซะซะงิ'' (白鳥陵?, สุสานนกสีขาว)
 
[[ไฟล์:Torii nomenclature.svg|thumb|250px|ชื่อเรียกส่วนต่างๆของโทะริอิ]]
 
== รูปแบบ ==
โทะริอิมีอยู่หลายแบบ ซึ่งแบบที่ง่ายที่สุดคือแบบ ''ชิเมะโทะริอิ'' หรือ ''ชูเร็นโทะริอิ'' (注連鳥居) โดยโทะริอินั้น สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ ''ชินเม'' (神明) และ ''เมียวจืน'' (明神)
=== ประเภท ''ชิมเม''===
<gallery perrow=4 widths=170px heights=130px>
File:Shime torii.svg|''ชิมเม โทะริอิ'' แบบไม่มีคาน
File:Shinmei torii 2.svg|''ชิมเม โทะริอิ'' แบบมีคาน
File:Geku - Ise torii.svg|''อิเซะ โทะริอิ''
File:Kashima Torii.svg|''คะชิมะ โทะริอิ ''
File:Kasuga torii.svg|''คะซุงะ โทะริอิ''
File:Hachiman torii.svg|''ฮะชิมัน โทะริอิ''
File:Mihashira Torii.svg|''มิฮะชิระ โทะริอิ''
</gallery>
 
=== ประเภท ''เมียวจิน''===
<gallery perrow=4 widths=170px heights=130px>
File:Myoujin torii.svg|''เมียวจิน โทะริอิ''
File:Nakayama Torii.svg|''นะกะยะมะ โทะริอิ''
File:Inari - daiwa torii.svg| ''ไดวะ โทะริอิ'' หรือ ''อินะริ โทะริอิ''
File:Ryoubu Torii.svg|''เรียวบุ โทะริอิ
File:Miwa torii.svg|''มิวะ โทะริอิ
File:Usa torii.svg|''อุซะ โทะริอิ
File:Nune torii.svg|''นุเอะ โทะริอิ'
File:Sannou torii.svg|''ซันโน โทะริอิ
File:Hizen torii.svg|''ฮิเซ็น โทะริอิ
</gallery>
 
== อ้างอิง ==
{{commons category|Torii|โทะริอิ}}
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:ศาสนาชินโต]]
{{โครงศาสนา}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โทริอิ"