ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นางสุพรรณมัจฉา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 49:
 
หลังสิ้นการสังวาสนางสุพรรณมัจฉาก็เลิกก่อกวนการสร้างถนน แต่ก็ทำสำเร็จเปราะหนึ่งเพราะหนุมานก็ต้องเสียเวลามาร่วมเพศกับนางระยะหนึ่ง<ref name= "ชานันท์"/> ต่อมานางสุพรรณมัจฉาได้ตั้งครรภ์และให้กำเนิดบุตรชื่อ ''[[มัจฉานุ]]''<ref name= "พันธุศาสตร์"/><ref>{{cite web |url=http://ramayana.onlinewebshop.net/supanmatcha.html|title=สุพรรณมัจฉา|author=|date=|work= |publisher=รามเกียรติ์|accessdate=26 พฤษภาคม 2557}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/17721-00/|title=ตัวละครหลักในเรื่องรามเกียรติ์|author=|date=|work= |publisher=True ปลูกปัญญา|accessdate=26 พฤษภาคม 2557}}</ref> ที่เป็นลิงแต่มีหางเป็นปลา นางสุพรรณมัจฉาเกรงว่าทศกัณฑ์ผู้บิดาจะล่วงรู้ว่านางได้เสียกับหนุมานแล้ว จึงนำบุตรมาทิ้งไว้ที่ชายหาด ที่ต่อมา[[ไมยราพณ์]]ได้นำไปเลี้ยงเป็นบุตรบุญธรรม<ref name= "สุพรรณมัจฉา"/>
 
== ทางศาสนา ==
ในอดีตเมื่อถึงช่วงเวลาทอดกฐินจะมีการประดับธง คือ "ธงจระเข้" คู่กับ "ธงนางมัจฉา" เมื่อทอดกฐินเสร็จแล้วก็จะต้องเอาธงนี้ไปปักหน้าวัด เพื่อให้ผู้ที่ผ่านไปมารู้ว่าวัดนี้ได้ทอดกฐินแล้ว ผู้คนก็จะยกมือขึ้นอนุโมทนาในการกุศลกฐินด้วย ด้วยเหตุนี้ธงจระเข้และนางมัจฉาจึงเป็นเครื่องหมายการกฐินที่จำเป็นสมัยก่อน เพราะเวลาแห่สามารถจะรู้ได้ว่าเป็นแห่กฐิน ผิดกว่างานบุญอื่น ๆ<ref>{{cite web |url=http://www.watpachoenglane.com/content/ธง“รูปจระเข้”-และ-”รูปนางมัจฉา-เกี่ยวข้องกับกฐินอย่างไร|title=ธง“รูปจระเข้” และ ”รูปนางมัจฉา เกี่ยวข้องกับกฐินอย่างไร|author= ท.เลียงพิบูลย์|date=|work= |publisher=วัดป่าเชิงเลน|accessdate=8 มิถุนายน 2557}}</ref>
 
== อ้างอิง ==