ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทุเรียนเทศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kasor~thwiki (คุย | ส่วนร่วม)
PAHs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21:
[[ไฟล์:Annona muricata Blanco1.196.png|thumb|ทุเรียนเทศพันธุ์''subonica'']]
[[ไฟล์:Annona muricata fleur2.jpg|thumb|ดอกทุเรียนเทศ]]
'''ทุเรียนเทศ''' หรือ '''ทุเรียนน้ำ''' ({{lang-en| Soursop, Prickly Custard Apple}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Annona muricata }}L.) ชื่อเรียกอื่น ๆ คือ ทุเรียนแขก (ภาคกลาง) หมากเขียบหลดเขียบหลดหรือหมากพิลด (ภาคอีสาน) ทุเรียนน้ำ (ภาคใต้) และ มะทุเรียน (ภาคเหนือ) เป็นพืชในวงศ์เดียวกับ[[น้อยหน่า]]และ[[กระดังงา]] ใบเดี่ยว กลีบดอกแข็ง มีกลิ่นหอมตอนเช้า ผลมีรูปร่างคล้ายทุเรียน มีหนาม เปลือกสีเขียว เนื้อสีขาว ฉ่ำน้ำ รสหวานอมเปรี้ยว เมล็ดแกแก่สีดำ ปลูกมากในแถบ[[อเมริกากลาง]]และ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]เป็นพืชที่ชอบที่ที่มีความชื้นสูง
 
== การใช้ประโยชน์ ==
ทุเรียนเทศใช้กินเป็นผลไม้สด และนำมาแปรรูปเป็นผลไม้กวน [[เยลลี่]] [[ไอศกรีม]]และซอส ใน[[มาเลเซีย]]นำไปทำน้ำผลไม้กระป๋อง [[เวียดนาม]]นิยมทำเป็นน้ำผลไม้ปั่น เมล็ดมีพิษ ใช้ทำยาเบื่อปลาและเป็นยาฆ่าแมลง ในทางโภชนาการ ทุเรียนเทศมีคาร์โบไฮเดรตมาก โดยเฉพาะน้ำตาลฟรุกโทส วิตามินซี และวิตามินบี ผล ใบ และเมล็ดมีฤทธิ์ทางยา ใช้เป็นยาสมุนไพร ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประ ประเทศมาเลเซียใช้ใบใช้ฆ่าแมลงขนาดเล็ก ผลใช้รักษาโรคกระเพาะอาหาร<ref>Samuel, A.J.S.J., Kalusalingam, A., Chellappan, D.K., Gopinath, R., Radhamani, S., Husain, H. A., Muruganandham, V., Promwichit, P. 2010. Ethnomedical survey of plants used by the orang asli in kampong bawong, Perak, West Malaysia. Joutnal of Ethnobiology and Ethnomedicine. 6:5</ref>
 
ในเม็กซิโกและโคลัมเบีย เป็นผลไม้ที่นิยมรับประทานและใช้ทำขนม เช่นเป็นส่วนผสมของเครื่องดื่ม ''agua fresca'' ซึ่งเป็นน้ำผลไม้ผสมนม ไอศกรีมทำจากทุเรียนเทศเป็นที่นิยม ในอินโดนีเซีย ''[[dodol]] sirsak'' ทำจากทุเรียนเทศโดยนำไปต้มในน้ำ เติมน้ำตาลจนกว่าจะแข็ง และนำไปทำน้ำผลไม้ปั่น ในฟิลิปปินส์เรียกทุเรียนเทศว่า ''guyabano'' ซึ่งน่าจะมาจากภาษาสเปน ''guanabana'' ซึ่งนิยมกินผลสุกและทำน้ำผลไม้ สมูทตี และไอศกรีม บางครั้งใช้ทำให้เนื้อนุ่ม ในเวียดนาม ทางภาคใต้เรียก ''mãng cầu Xiêm'' ส่วนทางภาคเหนือเรียก ''mãng cầu'' ใช้กินสดหรือทำสมูทตี นิยมนำเนื้อไปปั่นใส่นมข้น น้ำแข็งเกล็ดหรือทำเป็นน้ำผลไม้ปั่น ในมาเลเซียและอินโดนีเซียนิยมกินเป็นผลไม้เช่นกัน ในไทยสมัยโบราณนิยมนำผลอ่อนไป[[แกงส้ม]] หรือเชื่อมแบบเชื่อมสาเก ผลสุกกินเป็นผลไม้<ref>ยอดแต้ว อักษรา. ฟูดอับเดท: ทุเรียนเทศผลไม้โบราณที่แทบจะถูกลืมไปแล้ว. ครัว. ปีที่ 18 ฉบับที่ 214 เมษายน 2555 หน้า 12</ref>
 
ในทางโภชนาการ ทุเรียนเทศมีคาร์โบไฮเดรตมาก โดยเฉพาะน้ำตาลฟรุกโทส วิตามินซี และวิตามินบี ผล ใบ และเมล็ดมีฤทธิ์ทางยา ใช้เป็นยาสมุนไพร ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประ ประเทศมาเลเซียใช้ใบใช้ฆ่าแมลงขนาดเล็ก ผลใช้รักษาโรคกระเพาะอาหาร<ref>Samuel, A.J.S.J., Kalusalingam, A., Chellappan, D.K., Gopinath, R., Radhamani, S., Husain, H. A., Muruganandham, V., Promwichit, P. 2010. Ethnomedical survey of plants used by the orang asli in kampong bawong, Perak, West Malaysia. Joutnal of Ethnobiology and Ethnomedicine. 6:5</ref>
 
การปลูกทุเรียนเทศ
การปลูกทุเรียนเทศ หรือทุเรียนน้ำนั้น สามารถทำได้ไม่ยาก เพราะทุเรียนน้ำนั้นใช้วิธีขยายพันธุ์โดยเมล็ด ซึ่งเพียงแค่นำเมล็ดมาแช่น้ำทิ้งไว้ 1-2 วัน
จากนั้นนำไปเพาะดินผสมปกติ ต้นทุเรียนเทศจะงอกขึ้นมาได้ภายใน 7 วัน แต่ต้นกล้าจะโตช้าและออกดอกเมื่อมีอายุ3 ปีขึ้นไป และจะติดผลในปีที่ 4
ได้ผลผลิตประมาณปีละ 1.5 - 2 ตัน/ไร่
หรือหากจะใช้วิธีขยายพันธุ์แบบเสียบยอดและทาบกิ่งก็สามารถทำได้ โดยต้นทุเรียนน้ำนี้จะเจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนที่มีความชุ่มชื้น ระบายน้ำได้ดี
ในบ้านเรามักนิยมปลูกไว้เป็นไม้ประดับในบ้าน ไม่ค่อยนิยมบริโภคผล เพราะรสชาติออกไปทางเปรี้ยว จึงไม่ค่อยได้รับความนิยม.
 
== การปลูกทุเรียนเทศ ==
การปลูกทุเรียนเทศ หรือทุเรียนน้ำนั้น สามารถทำได้ไม่ยาก เพราะทุเรียนน้ำนั้นใช้วิธีขยายพันธุ์โดยเมล็ด ซึ่งเพียงแค่นำเมล็ดมาแช่น้ำทิ้งไว้ 1-2 วัน จากนั้นนำไปเพาะดินผสมปกติ ต้นทุเรียนเทศจะงอกขึ้นมาได้ภายใน 7 วัน แต่ต้นกล้าจะโตช้าและออกดอกเมื่อมีอายุ3 ปีขึ้นไป และจะติดผลในปีที่ 4 ได้ผลผลิตประมาณปีละ 1.5 - 2 ตัน/ไร่ หรือหากจะใช้วิธีขยายพันธุ์แบบเสียบยอดและทาบกิ่งก็สามารถทำได้ โดยต้นทุเรียนน้ำนี้จะเจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนที่มีความชุ่มชื้น ระบายน้ำได้ดี
== ความเสี่ยง ==
มีงานวิจัยในแถบทะเลแคริบเบียนที่แสดงให้เห็นว่ามีความเชื่อมโยงระหว่างการรับประทานทุเรียนเทศกับโรคพาร์คินสัน เพราะทุเรียนเทศมี[[annonacin]]ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคนี้สูง<ref name="health_parkinsons1">{{cite journal