ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุควสันตสารท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
Aristitleism ย้ายหน้า ยุคชุนชิว ไปยัง ยุควสันตสารท ทับหน้าเปลี่ยนทาง
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Chinese plain 5c. BC-en.svg|thumb|500px|แผนที่แสดงที่ตั้งของนครรัฐต่าง ๆ ในยุคชุนชิววสันตสารท]]
{{ประวัติศาสตร์จีน}}
 
บรรทัด 7:
อีกแง่หนึ่ง เป็นยุคที่นักปราชญ์บัณฑิตแต่ละสาขาได้ถือกำเนิดและมีชีวิตอยู่ ซึ่งได้แต่งตำราหรือคำสอนต่าง ๆ ที่ตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน เช่น [[ขงจื๊อ]] [[เล่าจื๊อ]] [[เม่งจื๊อ]] [[ม่อจื๊อ]] เป็นต้น ในส่วนของปราชญ์แห่ง[[สงคราม]] ก็คือ [[ซุนวู]] นั่นเอง
 
== กำเนิดยุคชุนชิววสันตสารท ==
[[ราชวงศ์โจว]]ปกครองด้วยกษัตริย์อย่างเข้มแข็งมากว่า 11 องค์ จนกระทั่งถึงรัชกาลของโจวอิวหวาง
รัชกาลที่ 12 อำนาจของราชวงศ์โจวก็เริ่มเสื่อมถอย เพราะโจวอิวหวางงมัวแต่หมกมุ่นกับ[[สุรา]]และ[[ผู้หญิง|นารี]] จนกระทั่งถูกข้าศึกจับกุมตัวไป 7 ปีต่อมา กองทัพผสมของอ๋องต่าง ๆ ในแต่ละ[[รัฐ]]ได้รวมตัวกันขับไล่ข้าศึกออกไป และอัญเชิญโอรสของโจวอิวหวางขึ้นครองราชย์ มีพระนามว่า โจวผิงหวาง ได้มีการย้าย[[เมืองหลวง]]จากเมืองเฮ่าจิง มาอยู่ที่ลกเอี๋ยง ([[ลั่วหยาง]] ในปัจจุบัน) ซึ่งอยู่ทางตะวันออก ยุคนี้ต่อมานักประวัติศาสตร์จึงได้เรียกว่า '''ยุคราชวงศ์โจวตะวันออก''' (Eastern Zhou) หรือ '''ยุคชุนชิววสันตสารท''' นั่นเอง (ที่เรียกว่า ชุนชิววสันตสารท ที่หมายถึง ฤดูใบไม้ผลิและฤดูใบไม้ร่วงนั้นมาจากชื่อคำภีร์ของขงจื๊อที่บันทึกเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และเหตุการณ์ในยุคนี้ ที่ชื่อ '''บันทึกแห่งฤดูใบไม้ผลิและฤดูใบไม้ร่วง''' หรือ ชุนชิววสันตสารท ซึ่งเป็นคำภีร์ที่มีชื่อเสียงที่สุดของขงจื๊อด้วย ผู้คนจึงเรียกชื่อยุคนี้ตามคำภีร์ และคำภีร์เล่มนี้ก็นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า ชุนชิววสันตสารท เช่นกัน) ซึ่งยุคนี้สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ยุคใหญ่ต่อเนื่องกัน ๆ คือ
 
* ยุคชุนชิววสันตสารท (770 ปีก่อนคริสต์ศักราช – 453 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
* [[ยุคจ้านกว๋อ]] (เลียดก๊ก ใน[[ภาษาจีนฮกเกี้ยน|ภาษาฮกเกี้ยน]]) (477 ปีก่อนคริสต์ศักราช - 222 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 
ซึ่งในยุคชุนชิวนั้นวสันตสารทนั้น นครรัฐต่าง ๆ ที่เคยมีอย่างมากมายในยุคราชวงศ์โจวก่อนหน้านั้น เหลือเพียง 140 รัฐ จากการถูกผนวกรวมเป็นหนึ่งเดียวกับรัฐที่เข้มแข็งกว่า มีบันทึกว่า รัฐหลู่ทำลาย 58 รัฐ รัฐจิ้นทำลาย 24 รัฐ รัฐฉินทำลาย 15 รัฐ รัฐฉีทำลาย 14 รัฐ รัฐเจิ้งทำลาย 6 รัฐ รัฐอู๋ทำลาย 5 รัฐ และรัฐทั้ง 140 รัฐนี้ มีรัฐที่เรียกได้ว่าเป็นรัฐขนาดใหญ่ มีอำนาจที่แท้จริงไม่ถึง 10 รัฐ
 
รัฐใหญ่เหล่านี้ มีผู้ปกครองเรียกว่า "[[อ๋อง]]" มเหสีเรียกว่า "ฮองเฮา" และอัครมหาเสนาบดีเรียกว่า "ไจ่เซี่ยง" เช่นเดียวกับราชวงศ์โจว แม้กษัตริย์ของราชวงศ์โจวยังคงอยู่ในตำแหน่ง แต่ก็ต้องโอนเอียงไปตามความปรารถนาของอ๋องแต่ละรัฐ นับได้ว่าเป็นเพียงหุ่นเชิดเท่านั้น
 
สำหรับเจ้าผู้ครองรัฐใหญ่เหล่านี้ ต่างแย่งชิงกันเป็น "ป้าจู่" (ปาอ๋อง) หมายถึง เจ้าผู้ปกครองรัฐที่มีอำนาจสูงสุด สำหรับอ๋องในยุคชุนชิววสันตสารทที่ได้รับการกล่าวขานว่าเป็น ปาอ๋อง อย่างแท้จริงมี 5 คน คือ [[ฉีหวนกง]], จิ้นเหวินกง, ฉินมู่กง,ซ่งเซียงกง และ ฉู่จวงหวาง
 
== อุบายนางงามไซซี ==
{{บทความหลัก|ไซซี}}
 
ไซซี หรือ ซีซือ ({{lang-en|Xi Shi}}; {{Zh-all|s=西施|p=Xī Shī}}) เป็นหนึ่งในสี่หญิงงามแห่งแผ่นดินจีน เกิดประมาณ ปี 506 ก่อนคริสตกาล ซึ่งตรงกับยุคชุนชิววสันตสารท ที่มณฑลเจ้อเจียง ในรัฐเยว่ (State of Yue)
 
ไซซีได้รับฉายานามว่า "มัจฉาจมวารี" ({{Zh-all|s=沉魚|p=chén yú}}) ซึ่งหมายถึง "ความงามที่ทำให้แม้แต่ฝูงปลายังต้องจมลงสู่ใต้น้ำ" (so beautiful as to make swimming fish sink)
บรรทัด 34:
 
== สิ้นสุดราชวงศ์โจว ==
ราชวงศ์โจวและยุคชุนชิววสันตสารทยุคสุดท้าย คือ ยุคจ้านกว๋อ หรือ เลียดก๊ก ซึ่งเป็นยุคที่แต่ละรัฐรบกันอย่างต่อเนื่อง ในปี 246 ก่อนคริสต์ศักราช ฉินหวังเจิ้ง (ต่อมาคือ ฉินสื่อหวง หรือ [[จิ๋นซีฮ่องเต้]] [[ฮ่องเต้]]องค์แรกของจีน) ได้สืบราชบัลลังก์รัฐฉินต่อมา โดยมีที่ปรึกษาเช่น เว่ยเหลียว, หลี่ซือ เป็นต้น ช่วยเหลือในการรวบรวมแผ่นดิน บ้างใช้เงินทองล่อซื้อบรรดาขุนนางของ 6 รัฐที่เหลือ แทรกซึมเข้าไปก่อความวุ่นวายในการปกครองของนครรัฐทั้ง 6 บ้าง อีกทั้งส่งกองกำลังรุกเข้าประชิดดินแดนปีแล้วปีเล่า เมื่อถึงปี 230 ก่อนคริสต์ศักราช รัฐฉินโจมตีนครรัฐหานแตกพ่ายไป เมื่อถึงปี 221 ก่อนคริสต์ศักราชกำจัดรัฐฉีสำเร็จ จากนั้น 6 นครรัฐต่างก็ทยอยถูกรัฐฉินกลืนตกไป แผ่นดินจีนจึงรวมกันเป็นหนึ่งเดียว ในยุคใหม่ คือ [[ราชวงศ์ฉิน]]
 
== อ้างอิง ==