ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคไลม์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: ลิงก์บทความคัดสรร sl:Lymska borelioza
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: pl:Borelioza เป็นบทความคุณภาพ; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 15:
 
โรคไลม์เป็นโรคติดต่อที่มีเห็บเป็นพาหะที่พบบ่อยที่สุดใน[[ซีกโลกเหนือ]] เชื้อ ''Borrelia'' จะติดต่อมายังมนุษย์ผ่านการถูกกัดโดยเห็บบางสปีชีส์ในจีนัส ''[[Ixodes]]'' ที่ติดเชื้อ อาการแรกเริ่มอาจไม่ชัดเจนเช่น [[ไข้]] [[ปวดหัว]] [[อ่อนเพลีย]] ผู้ป่วย 70-80% จะมี[[ผื่น]]ขึ้นบริเวณที่ถูกกัดหลังจากที่ถูกกัดประมาณ 3-30 วัน (เฉลี่ย 7 วัน) และอาจมีลักษณะเฉพาะคือเป็นรูปเป้ายิงปืน (bull's eye erythema migrans) หรือไม่มีก็ได้ ผื่นนี้ส่วนใหญ่ไม่มีอาการใดๆ เพียงแต่อาจร้อนกว่าผิวหนังส่วนอื่น หรืออาจพบมีอาการเจ็บหรือคันได้แต่พบได้น้อย ผู้ป่วย 20-30% ไม่มีผื่น หากไม่ได้รักษาอาจเริ่มมีอาการเพิ่มที่[[arthritis|ข้อต่อ]] [[หัวใจ]] และ[[ระบบประสาทส่วนกลาง]] ผู้ป่วยส่วนใหญ่รักษาหายขาดได้ด้วย[[ยาปฏิชีวนะ]] โดยเฉพาะเมื่อได้รับการรักษาตั้งแต่ช่วงแรก หากการรักษาล่้าหรือไม่เหมาะสมอาจทำให้มีอาการรุนแรงได้มากขึ้น และอาจรักษาได้ยาก
== โรคไลม์เรื้อรังและกลุ่มอาการหลังโรคไลม์ ==
ไม่มีคำว่า "โรคไลม์เรื้อรัง" ในบทความวิชาการทางการแพทย์ องค์กรทางการแพทย์ส่วนใหญ่ต่อต้านการให้ยาปฏิชีวนะต่อเนื่องระยะยาวในการรักษา "โรคไลม์เรื้อรัง"
{{Tick-borne diseases}}
บรรทัด 26:
|}
{{Arthritis in children}}
{{โครงแพทย์}}
 
[[หมวดหมู่:ภาวะเกี่ยวกับผิวหนังซึ่งสัมพันธ์กับการติดเชื้อแบคทีเรีย]]
[[หมวดหมู่:โรคติดเชื้อแบคทีเรีย]]
เส้น 32 ⟶ 34:
[[หมวดหมู่:โรคเสื่อมของระบบประสาท]]
[[หมวดหมู่:โรคที่มีเห็บเป็นพาหะ]]
 
{{โครงแพทย์}}
{{Link FA|sl}}
{{Link GA|pl}}