ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กล้วยน้ำว้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แทนที่ข้อความทั้งหมดด้วย 'กดสนรพีะฟำนยไระีฟไนรีำ ัดสรฟีด้าเ้สาหกี่...'
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 1:
{{Infobox Cultivar | name = กล้วยน้ำว้า
กดสนรพีะฟำนยไระีฟไนรีำ ัดสรฟีด้าเ้สาหกี่กาฟิ้สรกีด้สก่าดืเสฟรหกดหรพีั้หีรกืี้เกหด12
| image = Bananas dsc07803.jpg
| image_width = 250px
| image_caption =
| hybrid = ''[[Musa acuminata]]'' × ''[[Musa balbisiana]]''
| cultivar = กล้วยน้ำว้า
| group = [[พันธุ์กล้วย|ABB Group]]<ref>[http://www.doae.go.th/library/html/detail/banana/page84.html กล้วยน้ำว้า] กรมส่งเสริมการเกษตร</ref>
| origin =
}}
'''กล้วยน้ำว้า''' เป็น[[กล้วย]]พันธุ์หนึ่ง พัฒนามาจากลูกผสมระหว่าง[[กล้วยป่า]]กับ[[กล้วยตานี]] บริโภคกันอย่างแพร่หลาย ปลูกง่าย รสชาติดี สำหรับกล้วยน้ำว้าแบ่งออกเป็น 3 ชนิด ตามสีของเนื้อ คือ น้ำว้าแดง น้ำว้าขาว และน้ำว้าเหลือง คนไทยรับประทานกล้วยน้ำว้าทั้งผลสด ต้ม ปิ้ง และนำมาประกอบอาหาร นอกจากนี้ยังมีกล้วยน้ำว้าดำ ซึ่งเปลือกมีสีครั่งปนดำ แต่เนื้อมีสีขาว รสชาติอร่อยคล้ายกล้วยน้ำว้าขาว สำหรับกล้วยตีบเหมาะที่จะรับประทานผลสด เพราะเมื่อนำไปย่าง หรือต้มจะมีรสฝาด<ref>พันธุ์กล้วยในประเทศไทย, สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 30</ref>
 
กล้วยน้ำว้ามีชื่อพื้นเมืองอื่นเช่น กล้วยน้ำว้าเหลือง กล้วยใต้ หรือ กล้วยอ่อง เดิมจัดเป็นชนิด ''Musa sapientum'' L. [H]<ref name="สำนักงานหอพรรณไม้">เต็ม สมิตินันทน์ [http://web3.dnp.go.th/botany/ThaiPlantName/Default.aspx ''ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย''] สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, พ.ศ. 2549</ref>
 
== คุณค่าทางอาหารและยา ==
กล้วยน้ำว้าเมื่อเทียบกับกล้วยหอมและกล้วยไข่ กล้วยน้ำว้าจะให้พลังงานมากที่สุด กล้วยน้ำว้าห่ามและสุกมีธาตุเหล็กในปริมาณสูง ช่วยสร้างเม็ดเลือดแดง ป้องกันโรคโลหิตจาง มีแคลเซียม ฟอสฟอรัส และวิตามินซีช่วยบำรุงกระดูก ฟัน และเหงือกให้แข็งแรง ช่วยให้ผิวพรรณดี มีเบต้าแคโรทีน ไนอาซีนและใยอาหาร ช่วยให้ระบบขับถ่ายคล่องขึ้น กินกล้วยน้ำว้าสุก จะช่วยระบายท้องและสามารถรักษาโรคเลือดออกตามไรฟันในเด็กเล็กได้ ช่วยลดอาการเจ็บคอ เจ็บหน้าอกที่มีอาการไอแห้งร่วมด้วย โดยกินวันละ 4-6 ลูก แบ่งกินกี่ครั้ง ก็ได้ กินกล้วยก่อนแปรงฟันทุกวันจะทำให้ไม่มีกลิ่นปาก และผิวพรรณดี เห็นผลได้ใน 1 สัปดาห์ กล้วยน้ำว้าดิบและห่ามมีสารแทนนิน เพคตินมีฤทธิ์ฝาดสมาน รักษา อาการท้องเสียที่ไม่รุนแรงได้ โดยกินครั้งละครึ่งผล หรือ 1 ผล อาการท้องเสียจะทุเลาลง นอกจากนี้จากการศึกษาวิจัยยังพบว่า มีผลในการรักษาโรคกระเพาะได้อีกด้วย
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.doae.go.th/Library/html/detail/banana/page84.html รายละเอียดกล้วยน้ำว้า] จากกรมส่งเสริมการเกษตร
* [http://healthnet.md.chula.ac.th/text/forum2/vet/006.htm]
[[หมวดหมู่:กล้วย|น้ำว้า]]
[[หมวดหมู่:สมุนไพร]]
{{โครงพืช}}