ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 173:
เดิมประเทศไทยมีการปกครอง[[ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์]] ตั้งแต่สมัยอาณาจักรอยุธยาเป็นต้นมา จนกระทั่งมีการปกครองในลักษณะรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลางแบบเด็ดขาดตั้งแต่รัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]<ref>ธเนศวร์ เจริญเมือง. (2547). '''รัฐศาสตร์ที่ยังมีลมหายใจ แนวคิดประชาธิปไตย, การเมืองไทย และแผ่นดินแม่'''. ยูโรปา เพรส บริษัท จำกัด. หน้า 82.</ref> ครั้นวันที่ [[24 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2475]] [[คณะราษฎร]]ได้[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475|ปฏิวัติ]]ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] แล้วเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตยในปัจจุบัน
 
ปัจจุบัน ประเทศไทยปกครองในระบอบ[[เผด็จการทหาร]] โดย[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]] (คสช.) ควบคุมอำนาจการปกครองประเทศเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 มีประกาศให้
ปัจจุบัน ประเทศไทยมีรูปแบบรัฐเป็น[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]] และใช้การปกครอง[[ระบบรัฐสภา|ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา]] หรือที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยเรียกรวมกันว่า [[ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]] รัฐธรรรมนูญฉบับปัจจุบัน คือ [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] ซึ่งเป็นฉบับที่ 18 แต่เมื่อวันที่ [[22 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2557]] ได้ถูกยกเลิกโดย[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]] ยกเว้นหมวด 2 (พระมหากษัตริย์) โดยกำหนดรูปแบบองค์กรบริหารอำนาจทั้งสามส่วนดังนี้
[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] สิ้นสุดลง ยกเว้นหมวด 2 พระมหากษัตริย์, ให้วุฒิสภาสิ้นสุดลง (ส่วนสภาผู้แทนราษฎรถูกยุบไปตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2556), แต่ศาลและองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญยังปฏิบัติหน้าที่อยู่
 
ปัจจุบัน[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] ซึ่งเป็นฉบับที่ 18 ระบุว่า ประเทศไทยมีรูปแบบรัฐเป็น[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]] และใช้การปกครอง[[ระบบรัฐสภา|ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา]] หรือที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยเรียกรวมกันว่า [[ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]] รัฐธรรรมนูญฉบับปัจจุบัน คือ [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] ซึ่งเป็นฉบับที่ 18 แต่เมื่อวันที่ [[22 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2557]] ได้ถูกยกเลิกโดย[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]] ยกเว้นหมวด 2 (พระมหากษัตริย์) โดยกำหนดรูปแบบองค์กรบริหารอำนาจทั้งสามส่วนดังนี้
* [[อำนาจนิติบัญญัติ]] มี[[รัฐสภาไทย|รัฐสภา]]ใน[[ระบบสองสภา]] อันประกอบด้วย[[สภาผู้แทนราษฎรไทย|สภาผู้แทนราษฎร]] และ[[วุฒิสภาไทย|วุฒิสภา]] มีสมาชิกรวมกันทั้งสิ้น 630 คน เป็นองค์กรบริหารอำนาจ มี[[รายนามประธานรัฐสภาไทย|ประธานรัฐสภา]]เป็นประมุขแห่งอำนาจ<ref>{{cite web |url= http://www.parliament.go.th/news/news_detail.php?prid=245323 |title= ข้อคิดอดีตประมุขนิติบัญญัติ สภาใหม่ไม่สำคัญเท่าคุณภาพผู้แทน|accessdate=2010-06-24 |author= |date= |accessdate= 25-04-2010|work= |publisher=[[รัฐสภาไทย]] อ้างจาก ''โพสต์ทูเดย์''}}</ref>
** สภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยผู้แทนราษฎรจำนวน 500 คน มาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตจำนวน 375 คน และมาจากการเลือกตั้งแบบสัดส่วน 125 คน<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2554/A/013/1.PDF รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๕๔], เล่ม ๑๒๘, ตอน ๑๓ก, ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔, หน้า ๑</ref> อยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี