ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชุดตัวอักษรยาวี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Jawi alphabet.png|thumb|right|350px|ตัวอย่างอักษรยาวี]]
 
'''อักษรยาวี''' ({{lang|ms|حروف جاوي}}) เป็น[[อักษร]]ที่ใช้เขียน[[ภาษามลายู]]โดยได้ดัดแปลงจาก[[อักษรอาหรับ]] (อารบิก) นักปราชญ์คนหนึ่งของ[[ปัตตานี]] ชื่อ ชัยค์ อะห์มัด อัลฟะฏอนี (Syeikh Ahmad al-Fathani) ได้วางกฎเกณฑ์การใช้อักษรยาวีเพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการเขียนภาษามลายูในท้องถิ่นนี้ ในอดีต โลกมลายูใช้อักษรยาวีมาช้านาน ก่อนที่จะเปลี่ยนไปใช้[[อักษรรูมี]]
 
ปัจจุบันชาว[[มุสลิม]]ใน[[ประเทศไทย]]ที่พูดภาษามลายู นิยมใช้อักษรยาวีบันทึกเรื่องราวในศาสนา และการสื่อสารต่าง ๆ ส่วนนักเรียนในโรงเรียน[[ปอเนาะ]] หรือ[[โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม]] จะเริ่มเรียนอักษรยาวีสำหรับอ่านเขียนภาษาอาหรับ (ภาษาในคัมภีร์[[อัลกุรอาน]]) ตั้งแต่ยังเยาว์ อักษรยาวียังคงใช้กันอยู่บ้างใน[[ประเทศมาเลเซีย|มาเลเซีย]] [[ประเทศบรูไน|บรูไน]] และ[[สุมาตรา]]
บรรทัด 7:
คำว่า ''ยาวี'' นั้นมาจากคำว่า ''jawa'' หมายถึง [[เกาะชวา|ชวา]] นั่นเอง ทั้งนี้ก็เพราะชาวชวาได้อพยพมาตั้งถิ่นฐานใน[[มะละกา]]และปัตตานี ได้นำอักษรอาหรับดัดแปลงมาเผยแพร่ และในที่สุดได้รับมาใช้ในชุมชนที่พูด[[ภาษามลายูปัตตานี]]มาช้านาน
 
เป็นที่น่าสังเกตว่า ยังมีความสับสนในการเรียกชื่ออักษรยาวี และภาษามลายูว่า "ภาษายาวี" แม้กระทั่งในหมู่ผู้พูดภาษามลายู ทว่าความจริงแล้ว ไม่มีภาษายาวี มีแต่อักษรยาวีกับภาษามลายู
==อักษร==