ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thmmrth (คุย | ส่วนร่วม)
ZenithZealotry (คุย | ส่วนร่วม)
ยอมรับความจริงเสียเถิด
บรรทัด 21:
<!-- <div id="(1)"/>[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]]<sup>[[#s- (1)|(1)]]</sup> และ<br /> <div id="(2)"/> [[ประชาธิปไตย]][[ระบบรัฐสภา|แบบมีรัฐสภา]]<sup>[[#s- (2)|(2)]]</sup> -->
| leader_title1 = [[พระมหากษัตริย์ไทย|พระมหากษัตริย์]]
| leader_title2 = [[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ|หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ]] (ทำหน้าที่[[นายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรี]])
| leader_name1 = [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]
| leader_name2 = พลเอก [[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]]
| legislature = <!--[[รัฐสภาไทย|รัฐสภา]]-->[[วุฒิสภาไทย|วุฒิสภา]]
| upper_house = <!--[[วุฒิสภาไทย|วุฒิสภา]]-->
| lower_house = <!--[[สภาผู้แทนราษฎรไทย|สภาผู้แทนราษฎร]]-->
| area_rank = 51
| area_magnitude = 1 E11
บรรทัด 79:
}}
 
'''ประเทศไทย''' หรือชื่อทางการว่า '''ราชอาณาจักรไทย''' เป็น[[รัฐชาติ]]อันตั้งอยู่บน[[คาบสมุทรอินโดจีน]]และ[[คาบสมุทรมลายู|มลายู]] ในภูมิภาค[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] มีพรมแดนด้านตะวันออกติด[[ประเทศลาว]]และ[[ประเทศกัมพูชา]] ทิศใต้เป็น[[ชายแดนมาเลเซีย-ไทย|แดนต่อแดน]][[ประเทศมาเลเซีย]]และ[[อ่าวไทย]] ทิศตะวันตกติด[[ทะเลอันดามัน]]และ[[ประเทศพม่า]] และทิศเหนือติดประเทศพม่าและลาว มี[[แม่น้ำโขง]]กั้นเป็นบางช่วง มีศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินอยู่ที่[[กรุงเทพมหานคร]] และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น [[จังหวัดในประเทศไทย|76 จังหวัด]]<!-- อ้างอิงจากประกาศกระทรวงมหาดไทย -->{{Ref_label|A|ก|none}} เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 [[คณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง]] คือ [[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]] เถลิงอำนาจ แม้จะมีการสถาปนาระบอบ[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]]และ[[ประชาธิปไตย]][[ระบบรัฐสภา]]ใน พ.ศ. 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทย
 
ประเทศไทยมี[[รายชื่อประเทศเรียงตามเนื้อที่|ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก]] มีเนื้อที่ 513,115 [[ตารางกิโลเมตร]]<ref>[[ราชบัณฑิตยสถาน]]. (2545). ''อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม 1''. ราชบัณฑิตยสถาน. หน้า 4.</ref> และมี[[รายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร|ประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก]] คือ ประมาณ 66 ล้านคน<ref name="CIA factbook"/> กับทั้งยังเป็น[[ประเทศอุตสาหกรรมใหม่]]<ref name=Globalization>{{cite book|title=Globalization and the Transformation of Foreign Economic Policy|author=Paweł Bożyk|chapter=Newly Industrialized Countries|pages=164|publisher=Ashgate Publishing, Ltd|year=2006|isbn=0-75-464638-6}}</ref><ref name=Limits>{{cite book|title=The Limits of Convergence|author=Mauro F. Guillén|chapter=Multinationals, Ideology, and Organized Labor|pages=126 (Table 5.1)|publisher=Princeton University Press|year=2003|isbn=0-69-111633-4}}</ref><ref name=AIA>{{cite book|title=Geography, An Integrated Approach|author=David Waugh|chapter=Manufacturing industries (chapter 19), World development (chapter 22)|pages=563, 576–579, 633, and 640|publisher=Nelson Thornes Ltd.|year=3rd edition 2000|isbn=0-17-444706-X}}</ref><ref name=Principles>{{cite book|title=Principles of Economics|author=N. Gregory Mankiw|year=4th Edition 2007|isbn=0-32-422472-9}}</ref> โดยมีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและการบริการ<ref name="BankThai">{{cite web |url= http://www.bot.or.th/Thai/EconomicConditions/Thai/genecon/Pages/index.aspx|title= ข้อมูลพื้นฐานเศรษฐกิจไทย|accessdate=07-05-2010 |author= |date= |work= |publisher=[[ธนาคารแห่งประเทศไทย]]}}</ref> ไทยมีแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงเป็นอันมาก อาทิ [[พัทยา]], [[จังหวัดภูเก็ต|ภูเก็ต]], [[กรุงเทพมหานคร]] และ[[จังหวัดเชียงใหม่|เชียงใหม่]] ซึ่งสร้างรายได้ให้แก่ประเทศ เช่นเดียวกับการส่งออกอันมีส่วนสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ<ref name="middleIncomeCountry">{{cite web
บรรทัด 90:
ในอาณาเขตประเทศไทย พบหลักฐานของมนุษย์ซึ่งมีอายุเก่าแก่ที่สุดถึงห้าแสนปี<ref>วัลลภา รุ่งศิริแสงรัตน์. (2545). '''บรรพบุรุษไทย: สมัยก่อนสุโขทัยและสมัยสุโขทัย.''' โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ISBN 974-13-1780-8. หน้า 2.</ref> นักประวัติศาสตร์มักถือว่า[[อาณาจักรสุโขทัย]]เป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ซึ่งต่อมาตกอยู่ในอิทธิพลของ[[อาณาจักรอยุธยา]] อันมีความยิ่งใหญ่กว่า และมีการติดต่อกับชาติตะวันตก อาณาจักรอยุธยามีอายุยืนยาว 417 ปีก็เสื่อมอำนาจและ[[การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง|ล่มสลายไปโดยสิ้นเชิง]] [[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]]ทรง[[การกอบกู้เอกราชของเจ้าตาก|กอบกู้เอกราช]]และสถาปนา[[อาณาจักรธนบุรี]] เหตุการณ์ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักร นำไปสู่ยุคสมัยของ[[ราชวงศ์จักรี]]แห่ง[[รัตนโกสินทร์|กรุงรัตนโกสินทร์]]
 
ช่วงต้นกรุง ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาหลายฉบับ และ[[การเปลี่ยนแปลงดินแดนของสยามและไทย|การเสียดินแดนบางส่วน]] กระนั้น ไทยก็ยังธำรงตนมิได้เป็น[[อาณานิคม]]ของชาติใด ๆ ต่อมาจนช่วง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] ไทยได้เข้าร่วมกับ[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง|ฝ่ายสัมพันธมิตร]] และในปี พ.ศ. 2475 ได้มี[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475|การปฏิวัติ]]เปลี่ยนแปลงจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมาเป็นประชาธิปไตย และไทยได้เข้ากับ[[ฝ่ายอักษะ]]ในระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] จนช่วง[[สงครามเย็น]] ไทยได้ดำเนินนโยบายเป็นพันธมิตรกับ[[สหรัฐอเมริกา]] ทหารเข้ามามีบทบาทในการเมืองไทยอย่างมาก หลังปฏิวัติสยามอยู่หลายสิบปี กระทั่งมี[[การตั้งเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531|การเลือกตั้ง ส.ส.]]เมื่อปี [[พ.ศ. 2531]] ซึ่งนำไปสู่การจัดตั้งรัฐบาลพลเรือน และเข้าสู่ยุคโลกเสรี แต่[[คณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง]] ยังก่อ[[รัฐประหาร]][[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534|ในปี พ.ศ. 2534]], [[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|พ.ศ. 2549]] และ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557|ครั้งล่าสุด]] เมื่อเดือน[[พฤษภาคม พ.ศ. 2557]] [[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]] ขึ้นเถลิงอำนาจในปัจจุบัน
 
== ชื่อเรียก ==