ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขนมเบื้อง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Khanom bueang.jpg|thumb|ขนมเบื้องไทย]]
'''ขนมเบื้อง'''เป็นขนมไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ มีหลักฐานกล่าวถึงใน[[คำให้การขุนหลวงหาวัด]]ว่า "บ้านหม้อปั้นหม้อข้าวหม้อแกงใหญ่เล็ก และ[[กระทะ]]เตา[[ขนมครก]]ขนมเบื้อง"
ขนมเบื้องมีหลายแบบ 2 แบบคือ
* ขนมเบื้องมีหลายแบบ แบบแรก คือแบบไทยดั้งเดิม มีส่วนผสมหลักๆ คือ แป้งข้าวเจ้าและกระทิ ปรุงรสด้วยเกลือเท่านั้น ปัจจุบันไม่ค่อยมีใครทำแล้ว ส่วนอีกแบบ คือ ขนมเบื้องชาววัง มีส่วนผสมของไข่ และหยอดหน้าด้วยเครื่อง
* ขนมเบื้องไทยแบบชาววัง โดยทั่วไปมี 2 หน้าคือหน้ากุ้งและหน้าหวาน หน้ากุ้งใช้[[กุ้งก้ามกราม|กุ้งแม่น้ำ]]ตัวโตสับละเอียดผสมกับ[[พริกไทย]]และ[[ผักชี]]ตำพร้อม[[มันกุ้ง]] นำไปผัดใส่น้ำตาล [[น้ำปลา]]หรือ[[เกลือ]]ให้หอม ปัจจุบันมักเป็นหน้า[[มะพร้าว]]ใส่สีแดง ส่วนหน้าหวานมีส่วนผสมของฟักเชื่อม [[ฝอยทอง]]และ[[พลับ]]แห้งที่หั่นบางๆ ปัจจุบันมีแต่ฝอยทองกับครีม อย่างไรก็ตามในวังสวนสุนันทา มีหน้าหมูอีกอย่างหนึ่ง ใช้หมูสับคลุกคล้ากับ[[กระเทียม]] พริกไทย รากผักชีโขลก ใส่[[พริกขี้หนู]] นำไปรวนพอสุก
* ขนมเบื้องญวน เป็นขนมที่เข้ามาพร้อมกับเชลยชาวญวนในสมัย[[รัชกาลที่ 3]] ซึ่งถูกกวาดต้อนมาระหว่าง[[อานามสยามยุทธ|สงครามสยาม-เวียดนาม]] ขนมนี้ทำจากแป้งละลายกับไข่ให้ข้น ตักแป้งเทลงในกระทะที่ทาน้ำมันไว้ แผ่เป็นแผ่นกลม ใส่ไส้แล้วพับกลาง<ref>วันดี ณ สงขลา. อาหารไทยในวรรณคดี. เล่ม 2 กทม. ผลิตภัณฑ์การพิมพ์. 2527</ref>
 
เส้น 11 ⟶ 13:
การละเลงขนมเบื้องให้สวยงามในสมัยโบราณถือเป็นคุณสมบัติอย่างหนึ่งของกุลสตรี ดังที่ปรากฏในเรื่อง[[ขุนช้างขุนแผน]]ที่นางศรีมาลาและนางสร้อยฟ้าละเลงขนมเบื้อเปรียบเทียบฝีมือกัน และยังมีคำพังเพยกล่าวถึงคนช่างติ คนดีแต่พูดว่า"'''อย่าละเลงขนมเบื้องด้วยปาก'''"<ref>เส้นทางขนมไทย. กทม. แสงแดด. 2553. หน้า 18</ref>
 
 
ขนมเบื้องมีหลายแบบ แบบแรก คือแบบไทยดั้งเดิม มีส่วนผสมหลักๆ คือ แป้งข้าวเจ้าและกระทิ เท่านั้น ปัจจุบันไม่ค่อยมีใครทำแล้ว ส่วนอีกแบบ คือ ขนมเบื้องชาววัง มีส่วนผสมของไข่ และหยอดหน้าด้วยเครื่อง
 
[[ไฟล์:Http://sisatchanalai.com/wp-content/uploads/2014/05/003.jpg|thumbnail|ขนมเบื้องโบราณแบบดั้งเดิม]]