ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรมขุนสุนทรภูเบศร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 28:
== ผู้สืบเชื้อสาย ==
[[ไฟล์:กรมหมื่นอดุลยลักษณสมบัติ.jpg|thumb|right|200px|[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุไร กรมหมื่นอดุลยลักษณสมบัติ]] ทายาทกรมขุนสุนทรภูเบศร์ ต้นราชสกุล ''อุไรพงศ์'']]
กรมขุนสุนทรภูเบศร์ มีบุตรอยู่จำนวนหนึ่ง ที่บางท่านมีฐานันดรศักดิ์เป็น "หม่อมเจ้า" ซึ่งอาจได้รับพระราชทานเป็นรายบุคคลตามพระราชประสงค์เท่านั้น<ref name= "พระอนุวงศ์">{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้อ้างหนังสือ || ผู้แต่ง = ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร || ชื่อหนังสือ = พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี || URL = || จังหวัด = กรุงเทพ || พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์บรรณกิจ || ปี = พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549 || ISBN = 974-221-818-8 || หน้า = 288 || จำนวนหน้า = 360}}</ref> โดยพระโอรสและธิดาเท่าที่ปรากฏพระนามและนาม ได้แก่
* หม่อมเจ้าดวง สุนทรกุล พระราชทานเพลิง ณ วัดลาดบัวขาว พ.ศ. 2387
* หม่อมเจ้าก้อง สุนทรกุล พระราชทานเพลิง ณ วัดลาดบัวขาว พ.ศ. 2387
บรรทัด 35:
* [[เจ้าจอมมารดาเขียว ในรัชกาลที่ 3|เจ้าจอมมารดาเขียว]] พระสนมใน[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เป็นเจ้าจอมมารดาใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุไร กรมหมื่นอดุลยลักษณสมบัติ]] ต้นราชสกุลอุไรพงศ์
 
กรมขุนสุนทรภูเบศร์ ทรงเป็นต้นสกุล "สุนทรกุล ณ ชลบุรี" เป็นนามสกุลพระราชทานลำดับที่ 4603 พระราชทานให้แก่หม่อมหลวงจาบ สุนทรกุล ตามราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 35 หน้า 1719 พระราชทานเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2461 สำหรับบรรดาผู้สืบสกุลโดยตรงลงมาจากกรมขุนสุนทรภูเบศร์ นอกจากนี้ยังพบว่าผู้สืบเชื้อสายบางส่วนในปี พ.ศ. 2485 หลวงสุนทรมนูกิจ (ทิพย์ สุนทรกุล ณ ชลบุรี) ได้ขอพระบรมราชานุญาตใช้ราชทินนามเป็นนามสกุลใหม่ว่า "สุนทรมนูกิจ"<ref name= "ราชสกุลวงศ์พระอนุวงศ์"/>
 
== พระอิสริยยศ ==