ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Phizaz/merge sort"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Phizaz (คุย | ส่วนร่วม)
Phizaz (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox Algorithm
ในสาขา[[วิทยาการคอมพิวเตอร์]] '''การเรียงลำดับแบบผสาน''' ({{Lang-en|Merge Sort}}) เป็นขั้นตอนวิธีใน[[ขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับ|การเรียงลำดับ]]ที่อาศัยการเปรียบเทียบ และยังเป็นตัวอย่างขั้นตอนวิธีที่ใช้หลัก[[ขั้นตอนวิธีการแบ่งแยกและเอาชนะ|การแบ่งแยกและเอาชนะ]]ทำให้ชั้นตอนวิธีนี้มีประสิทธิภาพ O(n log n) ในการอิมพลิเมนต์เพื่อการใช้งานจริง ๆ นั้นสามารถทำได้ทั้งแบบบนลงล่าง (Top-down) และแบบล่างขึ้นบน (Bottom-up) อนึ่งในการอิมพลิเมนต์โดยทั่วไปแล้วการเรียงแบบนี้จะไม่ศูนย์เสียลำดับของข้อมูลที่มีค่าเท่ากัน นั่นคือเป็นการเรียงที่เสถียร ''การเรียงลำดับแบบผสาน'' ถูกเสนอขึ้นครั้งแรกโดย[[จอห์น ฟอน นอยมันน์]]ในปี ค.ศ. 1945
|class=[[ขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับ]]
|image=[[File:Merge-sort-example-300px.gif]]
|caption=ภาพตัวอย่างการเรียงลำดับแบบผสาน เร่ิมด้วยการแบ่งข้อมูลออกเป็นส่วนที่เล็กที่สุด แล้วเร่ิมผสานข้อมูลก้อนเล็ก ๆ เข้าด้วยกันกลายเป็นข้อมูลก้อนที่ใหญ่ขึ้น ในที่สุดข้อมูลทุกชิ้นจะเรียงลำดับอย่างสมบูรณ์
|data=[[แถวลำดับ]] (Array)
|time=O(''n'' log ''n'')
|best-time=O(''n'' log ''n'')
|average-time=O(''n'' log ''n'')
|space=O(''n'') รวมทั้งแถวลำดับที่ช่วยในการเรียงอีกเท่าตัว
}}
ในสาขา[[วิทยาการคอมพิวเตอร์]] '''การเรียงลำดับแบบผสาน''' ({{Lang-en|Merge Sort}}) เป็นขั้นตอนวิธีใน[[ขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับ|การเรียงลำดับ]]ที่อาศัยการเปรียบเทียบ และยังเป็นตัวอย่างขั้นตอนวิธีที่ใช้หลัก[[ขั้นตอนวิธีการแบ่งแยกและเอาชนะ|การแบ่งแยกและเอาชนะ]]ทำให้ชั้นตอนวิธีนี้มีประสิทธิภาพ O(''n'' log ''n'') ในการอิมพลิเมนต์เพื่อการใช้งานจริง ๆ นั้นสามารถทำได้ทั้งแบบบนลงล่าง (Top-down) และแบบล่างขึ้นบน (Bottom-up) อนึ่งในการอิมพลิเมนต์โดยทั่วไปแล้วการเรียงแบบนี้จะไม่ศูนย์เสียลำดับของข้อมูลที่มีค่าเท่ากัน นั่นคือเป็นการเรียงที่เสถียร ''การเรียงลำดับแบบผสาน'' ถูกเสนอขึ้นครั้งแรกโดย[[จอห์น ฟอน นอยมันน์]]ในปี ค.ศ. 1945
 
==ขั้นตอนวิธี==