ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรมขุนสุนทรภูเบศร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
| วันประสูติ =
| วันสิ้นพระชนม์ =
| พระอิสริยยศ = พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าเรือง กรมขุนสุนทรภูเบศร์
| พระราชบิดา =
| พระราชมารดา =
| พระราชสวามี =
| พระโอรส/ธิดา = หม่อมเจ้าดวง สุนทรกุล<br>หม่อมเจ้าก้อง สุนทรกุล<br>หม่อมเจ้าเม่น สุนทรกุล<br>[[เจ้าจอมมารดาเขียว สุนทรกุลในรัชกาลที่ ณ ชลบุรี3|เจ้าจอมมารดาเขียว]]<br>อ้น สุนทรกุล ณ ชลบุรี
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี|จักรี]] (สถาปนา)
| หมายเหตุ = {{เทาเล็ก|ความสัมพันธ์}}<br> พระอนุชาร่วมสาบานใน[[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]]
|}}
 
'''กรมขุนสุนทรภูเบศร์ (จีนเรือง สุนทรกุล ณ ชลบุรี)''' หรือ {{อ้างอิง-เส้นใต้|'''พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าเรือง กรมขุนสุนทรภูเบศร์'''}} โดยมีพระนามเดิมว่า '''เรือง'''<ref name="ราชสกุลวงศ์">{{cite web |url=http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf|title= ราชสกุลวงศ์|author=|date=|work= |publisher=กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์|accessdate=16 พฤษภาคม 2557}}</ref> หรือ '''จีนเรือง'''<ref name= "จีนเรือง"/> ทรงเป็นเศรษฐีชาวเมือง[[ชลบุรี]](บางปลาสร้อย (ชลบุรี) โดยที่เคยให้การอุปการะ[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]]เมื่อครั้งยกทัพไปตีเมืองจันทบุรี ภายหลัง[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็นเจ้านาย โดยด้วยเกี่ยวข้องกับราชวงศ์จักรีคือจากการได้เป็นภราดาร่วมสาบานเป็นภราดรกับ[[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]]
 
กรมขุนสุนทรภูเบศร์ เป็นต้นสกุล "สุนทรกุล ณ ชลบุรี" และบางสายใช้ "สุนทรมนูกิจ"<ref name= "ราชสกุลวงศ์"/>
 
== พระประวัติ ==
กรมขุนสุนทรภูเบศร์ แต่เดิมเป็นเศรษฐีเมืองบางปลาสร้อย มีพระนามเดิมว่า "เรือง" หรือ "จีนเรือง" ที่เป็นผู้มีอุปการะแด่[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]] เมื่อเสด็จยกทัพไปตี[[จังหวัดจันทบุรี|เมืองจันทบูร]] จีนเรืองมีความสนิทชิดเชื้อกับ[[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]]มาก ถึงขั้นร่วมสาบานเป็นภราดรภาพคือเป็นพี่น้องร่วมสาบานกัน<ref>{{cite web |url=http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=3025|title=พระเจ้าวรวงศ์เธอ (ตอนที่ ๓)|author=|date=26 พฤษภาคม พ.ศ. 2552|work= |publisher=ราชกิจจานุเบกษา|accessdate=16 พฤษภาคม 2557}}</ref>
'''พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าเรือง กรมขุนสุนทรภูเบศร์''' พระองค์ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯสถาปนาขึ้นเป็นเจ้านาย จากสามัญชนที่มิได้มีเชื้อสายเกี่ยวข้องกับพระบรมราชจักรีวงศ์ มีพระนามเดิมว่า ''เรือง'' หรือ ''จีนเรือง'' เดิมทรงเป็นชาวเมืองชลบุรี ทรงเป็นผู้มีอุปการคุณแด่[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]] เมื่อเสด็จยกทัพไปตีเมืองจันทบุรี จีนเรืองรักใคร่ชอบพอกับ[[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]]มาก ถึงแก่ได้ร่วมสาบานเป็นพี่น้องกัน เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]ทรงปราบดาภิเษก จึงโปรดเกล้าฯสถาปนาขึ้นเป็นเจ้านาย เป็น "หม่อมเรือง" ต่อมาเป็น "เจ้าบำเรอภูธร" จนท้ายที่สุดได้สถาปนาที่พระยศเป็น '''กรมขุนสุนทรภูเบศร์'''<ref name="จีนเรือง">[[จุลลดา ภักดีภูมินทร์]]. "จีนกุน จีนเรือง จีนมั่วเส็ง," '''เวียงวัง'''. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : อักษรโสภณ, 2551. หน้า 38-43.</ref> ดำรงฐานันดรศักดิ์เป็นพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า และทรงกรม ตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระอนุชาธิราช พระราชทานให้ทรงสร้างวังอยู่ปากคลอง[[วัดชนะสงคราม]] (หรือปากคลองโรงไหม) ตรงข้ามวังหน้า พอถึงรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 3 พระราชทานให้เป็นวังเจ้าฟ้าอิศราพงศ์ กรมขุนสุนทรภูเบศร์นี้ทรงได้เป็นเจ้านายแต่เฉพาะพระองค์เดียว ส่วนพระโอรส-ธิดามิได้เป็นเจ้านายด้วย
 
ครั้นเมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]ทรงปราบดาภิเษ จึงโปรดเกล้าฯ สถาปนา "จีนเรือง" ขึ้นเป็นเจ้านายเป็น "หม่อมเรือง" ต่อมาได้สถาปนาเป็นเจ้าราชินิกุลด้วยความชอบด้านสงครามว่า "เจ้าบำเรอภูธร" (บ้างว่า หม่อมเจ้าบำเรอภูธร)<ref name= "ราชสกุลวงศ์"/>, "กรมหมื่นสุนทรภูเบศร์"<ref name= "ราชสกุลวงศ์"/> และจนท้ายที่สุดได้สถาปนาที่พระยศเป็น "กรมขุนสุนทรภูเบศร์"<ref name="จีนเรือง">[[จุลลดา ภักดีภูมินทร์]]. "จีนกุน จีนเรือง จีนมั่วเส็ง," ''เวียงวัง''. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : อักษรโสภณ, 2551. หน้า 38-43.</ref> ตามลำดับ ดังพระราชประสงค์ของสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท<ref name= "ราชสกุลวงศ์"/> ภายหลังพระราชทานให้ทรงสร้างวังอยู่ปากคลอง[[วัดชนะสงคราม]] (หรือปากคลองโรงไหม) ตรงข้ามวังหน้า
== ราชสกุล ==
พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าเรือง กรมขุนสุนทรภูเบศร์ ทรงเป็นต้นราชสกุล "สุนทรกุล ณ ชลบุรี" เป็นนามสกุลพระราชทานลำดับที่ 4603 พระราชทานให้แก่หม่อมหลวงจาบ ตามราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 35 หน้า 1719 พระราชทานเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2461 สำหรับบรรดาผู้สืบสกุลโดยตรงลงมาจาก พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าเรือง กรมขุนสุนทรภูเบศร์ (หม่อมเรือง) ซึ่งได้รับโปรดเกล้า ฯ สถาปนาฐานันดรศักดิ์ขึ้นมาจากสามัญชนแต่เพียงพระองค์เดียวยกเว้นบุตรหลาน เกี่ยวข้องกับพระราชวงศ์จักรีในฐานะที่ได้ร่วมสาบานเป็นภราดรกับ[[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]]มาก เดิม กรมขุนสุนทรภูเบศร์มีพระนามเดิมว่าเรือง หรือจีนเรือง เป็นชาวเมืองชลบุรี เป็นผู้มีอุปการคุณแด่[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]] เมื่อครั้งเสด็จยกทัพไปตีเมืองจันทบุรี จีนเรืองรักใคร่ชอบพอกับสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชปราบดาภิเษก จึงได้โปรดเกล้า ฯ สถาปนาขึ้นเป็นเจ้านายตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระอนุชาธิราช และพระราชทานให้สร้างวังอยู่ปากคลองวัดชนะสงคราม (หรือปากคลองโรงไหม) ตรงข้ามวังหน้า จนกระทั่งรัชกาลที่ 3 ได้พระราชทานให้เป็นวังพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอิศราพงศ์แทน
 
กรมขุนสุนทรภูเบศร์ สิ้นพระชนม์เมื่อใดไม่ปรากฏทราบแต่เพียงว่าน่าจะสิ้นพระชนม์หลังปี พ.ศ. 2348 เพราะมีหลักฐานว่าในปีนั้นพระองค์ยังมีชีวิตอยู่<ref>''ประกาศเรื่องบำเพ็ญพระราชกุศลเทศน์มหาชาติในรัชชกาลที่ 1''. พระนคร:ราชบัณฑิตยสภา. 2474, หน้า 3</ref> หลังการสิ้นพระชนม์ วังปากคลองโรงไหมได้ตกเป็นของเจ้าฟ้าอิศราพงศ์ ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 3
== พระโอรส-ธิดา ==
 
สันนิษฐานว่าพระอิสริยศักดิ์หม่อมเจ้า พระโอรสในกรมขุนสุนทรภูเบศร์นี้ น่าจะเป็นการพระราชทานเฉพาะแต่ละพระองค์เท่านั้น{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
== ผู้สืบเชื้อสาย ==
โดยพระโอรสและธิดาเท่าที่ปรากฏพระนามและนาม ได้แก่
[[ไฟล์:กรมหมื่นอดุลยลักษณสมบัติ.jpg|thumb|right|200px|[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุไร กรมหมื่นอดุลยลักษณสมบัติ]] ทายาทกรมขุนสุนทรภูเบศร์ ต้นราชสกุล ''อุไรพงศ์'']]
กรมขุนสุนทรภูเบศร์ มีบุตรอยู่จำนวนหนึ่ง ที่บางท่านมีฐานันดรศักดิ์เป็น "หม่อมเจ้า" ซึ่งอาจได้รับพระราชทานเป็นรายบุคคลตามพระราชประสงค์เท่านั้น{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}} โดยพระโอรสและธิดาเท่าที่ปรากฏพระนามและนาม ได้แก่
* หม่อมเจ้าดวง สุนทรกุล พระราชทานเพลิง ณ วัดลาดบัวขาว พ.ศ. 2387
* หม่อมเจ้าก้อง สุนทรกุล พระราชทานเพลิง ณ วัดลาดบัวขาว พ.ศ. 2387
* หม่อมเจ้าเม่น สุนทรกุล พระราชทานเพลิง ณ วัดลาดบัวขาว พ.ศ. 2395
* [[เจ้าจอมมารดาเขียว สุนทรกุลในรัชกาลที่ ณ ชลบุรี3|เจ้าจอมมารดาเขียว]] เจ้าจอมมารดาพระสนมใน[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เป็นเจ้าจอมมารดาใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุไร กรมหมื่นอดุลยลักษณสมบัติ]] ต้นราชสกุลอุไรพงศ์
* อ้น สุนทรกุล ณ ชลบุรี ถวายตัวเป็นฝ่ายในใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]
 
กรมขุนสุนทรภูเบศร์ ทรงเป็นต้นสกุล "สุนทรกุล ณ ชลบุรี" เป็นนามสกุลพระราชทานลำดับที่ 4603 พระราชทานให้แก่หม่อมหลวงจาบ สุนทรกุล ณ ชลบุรี ตามราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 35 หน้า 1719 พระราชทานเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2461 สำหรับบรรดาผู้สืบสกุลโดยตรงลงมาจากกรมขุนสุนทรภูเบศร์ นอกจากนี้ยังพบว่าผู้สืบเชื้อสายบางส่วนใช้นามสกุลว่า "สุนทรมนูกิจ"<ref name= "ราชสกุลวงศ์"/>
 
== พระอิสริยยศ ==
เรียงตามลำดับการพระราชทานโปรดเกล้าฯ
* หม่อมเรือง
* เจ้าบำเรอภูธร (บ้างว่า หม่อมเจ้าบำเรอภูธร)
* พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าเรือง กรมขุนหมื่นสุนทรภูเบศร์
* กรมขุนสุนทรภูเบศร์
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://www.csn-advance.com/chon/image/pic/11-20081214112113000000.jpg&imgrefurl=http://www.csn-advance.com/chon/index.php%3Fp%3D28%26c%3Dsearch%26text%3D&usg=__zoI-UTluEZyc2Dwgpmx8U5MR7PI=&h=400&w=300&sz=30&hl=th&start=1&sig2=HoVCNZ-onHHUya4WSZHXdw&um=1&tbnid=t498fZtLV-sGUM:&tbnh=124&tbnw=93&prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%25A5%2B%25E0%25B8%2593%2B%25E0%25B8%258A%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B5%26hl%3Dth%26sa%3DN%26um%3D1&ei=RUsVSvmNIIaIkAX_x4jgDA พระประวัติกรมขุนสุนทรภูเบศร์ (จีนเรือง สุนทรกุล ณ ชลบุรี )]
* [http://www.amed.go.th/AboutUs/palace/sur_order.htm นามสกุลพระราชทานเรียงลำดับตามอักษร]
เส้น 46 ⟶ 53:
* [http://blog.eduzones.com/suguidance/print.php?content_id=1473 ประวัติศาสตร์วังท่าพระ สู่ความเป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร]
* [http://archive.lib.kmutt.ac.th/detail.php?ar_id=2595 จุลลดา ภักดีภูมินทร์."จีนกุน จีนเรือง จีนมั่วเส็ง," เวียงวัง. พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ : อักษรโสภณ, 2551. หน้า 38-43.]
* [http://topicstock.pantip.com/library/topicstock/2009/09/K8292045/K8292045.html พลตรีหม่อมราชวงศ์ศุภวัฒน์ เกษมศรี และนางสาวรัชนี ทรัพย์วิจิตร, "หนังสือพระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี" , หน้า 233]
 
 
{{เจ้านายทรงกรม}}