ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เพิ่มหัวข้อ นักแสดงที่ได้รับบทเป็นพระยม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{กล่องข้อมูล เทวะ
| name = พระยม
เส้น 5 ⟶ 4:
| native_name = यम
| image = [[ไฟล์:Yama.jpg|200px]]
| caption = เทวรูปพระยมตาม[[พุทธศาสนาพุทธแบบทิเบต|คติแบบทิเบต]]
| god_of = เทพเทพเจ้าแห่ง[[ความตาย|มรณะ]]
| affiliation = เทวะ
| adobe = นรก
| weapon = ทันฑ์ไม้เท้า
| mount = กระบือ
| father = พระอาทิตย์
เส้น 20 ⟶ 19:
}}
 
'''พระยม''' '''พระยมราช''' หรือ '''มัจจุราช''' คือเทพเจ้าแห่ง[[นรก]]และ[[ความตาย]] ตามความเชื่อใน[[ศาสนาแบบอินเดีย]]
'''ท้าวพญายมราช (พระยม) ''' ใน[[เทวตำนาน]]ยุคต้น [[ท้าวจตุโลกบาล]]แห่งทิศทักษิณ กล่าวไว้คือพระยม เป็นองค์เดียวกัน ทรง[[กระบือ]]เป็นพาหนะ พระหัตถ์ขวาถือ[[บ่วงยมบาศ]] พระหัตถ์ซ้ายทรง[[ไม้ท้าวยมทัณฑ์]] ส่วนลัทธิข้างจีนฝ่าย[[มหายาน]]ว่า พญายมเป็น[[พระโพธิสัตว์]] พระองค์หนึ่ง ทำหน้าที่พิพากษาแก่ดวงวิญญาณทั้งหลาย ในเถรวาทแสดงไว้ว่ายมบาลมี 4 ท่าน และเป็นเปรตชนิดหนึ่งที่เรียกว่า[[เปรต|เวมานิกเปรต]] แต่ทั้งนี้อาจปฏิสนธิได้ทั้งอเหตุกปฏิสนธิ ทวิเหตุกปฏิสนธิ และติเหตุกปฏิสนธิ (โดยอย่างหลังจึงจะสามารถบรรลุธรรมหรือทำฌานได้)
 
== ศาสนาฮินดู ==
== ประวัติของพระนาม ==
[[ศาสนาฮินดู]]เชื่อว่าพระยมเป็น[[ท้าวโลกบาล]]ประจำ[[ทิศใต้]] ทรง[[กระบือ]]เป็นพาหนะ ถือ[[ไม้เท้า]]เป้นอาวุธ [[ดาวอังคาร]]เป็นดาวประจำองค์
คำศัพท์ ''ยม'' มาจาก คำศัพท์ '''ยมล''' ([[อักษรเทวนาครี|เทวนาครี]]: यमल, ยะมะละ) นั้นเป็น[[ภาษาสันสกฤต]]มีความหมายว่า ''ฝาแฝด''
 
== ศาสนาพุทธ ==
== ทัศนคติในวัฒนธรรมอื่น ==
[[ศาสนาพุทธ]]ฝ่าย[[เถรวาท]] ถือว่าพระยมมีชาติกำเนิดเป็นเทวดาในชั้น[[จาตุมหาราชิกา]]<ref name="ปรมัตถโชติกะ มหาอภิธัมมัตถสังคหฎีกา ปริจเฉทที่ 5 เล่ม 1 วีถิมุตตสังคหะ ภูมิจตุกกะและปฏิสนธิจตุกกะ">พระสัทธัมมโชติกะ, ''ปรมัตถโชติกะ มหาอภิธัมมัตถสังคหฎีกา ปริจเฉทที่ 5 เล่ม 1 วีถิมุตตสังคหะ ภูมิจตุกกะและปฏิสนธิจตุกกะ'', พิมพ์ครั้งที่ 6, กรุงเทพฯ : มูลนิธิสัทธัมมโชติกะ, 2546, หน้า 8-11, 107</ref> และเป็นเจ้าแห่งเวมานิกเปรต คัมภีร์[[ปปัญจสูทนี]]ระบุว่าในมหานรกแต่ละขุมมีพระยมประจำอยู่ทั้ง 4 ประตู<ref>[http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=504 อรรถกถาเทวทูตสูตร], อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สุญญตวรรค</ref> มหานรกมี 8 ขุม จึงมีพระยมทั้งสิ้น 32 องค์<ref name="ปรมัตถโชติกะ มหาอภิธัมมัตถสังคหฎีกา ปริจเฉทที่ 5 เล่ม 1 วีถิมุตตสังคหะ ภูมิจตุกกะและปฏิสนธิจตุกกะ"/>
'''ยมบาล''' หรือ ไต่สือเอี๊ยะ ซึ่งเกิดเมื่อสมัยจุ่นจี่ (พ.ศ. 211) ซึ่งเป็นปีที่เจ้าแม่กวนอิมได้รับธรรมอีกด้วย ซึ่งรับเป็นพระกรุณาต่อสัตว์โลก ยมบาลมี 2 ขุม คือ ขุมจตรัสบุญ และขุมอุทิศุณบูรณ์
# ขุมจตรัสบุญ เป็นขุมสีขาว หรือ ขุมนรก
# ขุมอุทิศุบูรณ์ เป็นขุมสีเขียว หรือ ขุมสวรรค์
 
ในเทวทูตสูตร พระพุทธเจ้าตรัสว่าพระยมมีหน้าที่ซักถามสัตว์นรกเกี่ยวกับเทวทูต 5 ได้แก่ ทารกแรกเกิด คนแก่ คนป่วย นักโทษ และคนตาย เพื่อให้สัตว์นรกนั้นได้ระลึกถึงกุศลกรรมที่ตนเคยทำมา หากสัตว์นรกจำได้ก็จะพ้นจากนรก หากจำไม่ได้ยมบาลก็จะนำตัวสัตว์นรกนั้นไปลงโทษตามบาปกรรมที่ได้ทำมา<ref>[http://www.84000.org/tipitaka/read/v.php?B=14&A=6750&Z=7030 เทวทูตสูตร], พระไตรปิฎก เล่มที่ 14 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 6 มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์</ref>
ในโหราศาสตร์ไทย พระยมถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ ๐ (เลขศูนย์ไทย)
 
ส่วนลัทธิข้างจีนฝ่าย[[มหายาน]]ว่า พญายมเป็น[[พระโพธิสัตว์]]องค์หนึ่ง ทำหน้าที่พิพากษาแก่ดวงวิญญาณทั้งหลาย
==นักแสดงที่ได้รับบทเป็นพระยม ==
 
=== ยมบาล ===
'''ยมบาล''' หรือ '''นิรยบาล''' คือ เจ้าพนักงานในนรกภูมิ มีหน้าที่ลงโทษทรมานสัตว์นรกตามคำสั่งของพระยม<ref>[[ราชบัณฑิตยสถาน]], ''[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว'', กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 939</ref> ศาสนาพุทธเชื่อว่ายมบาลมีชาติกำเนิดเป็นเทวดาในชั้น[[จาตุมหาราชิกา]]<ref name="ปรมัตถโชติกะ มหาอภิธัมมัตถสังคหฎีกา ปริจเฉทที่ 5 เล่ม 1 วีถิมุตตสังคหะ ภูมิจตุกกะและปฏิสนธิจตุกกะ"/> มี 2 ประเภท
คือ ยมบาลยักษ์และยมบาลกุมภัณฑ์ ยมบาลยักษ์คือ[[ยักษ์]]ที่อยากทำร้ายสัตว์นรก จึงจำแลงกายเป็นยมบาล เที่ยวไล่ทำร้ายสัตว์นรกต่าง ๆ หรือแปลงกายเป็นแร้งกาจิกกินสัตว์นรก และยมบาล[[กุมภัณฑ์]] คือยมบาลที่อาศัยประจำในนรก มีหน้าที่ทำร้ายสัตว์นรก หรือแปลงกายเป็นแร้งกาจับสัตว์นรกกิน<ref name="ปรมัตถโชติกะ มหาอภิธัมมัตถสังคหฎีกา ปริจเฉทที่ 5 เล่ม 1 วีถิมุตตสังคหะ ภูมิจตุกกะและปฏิสนธิจตุกกะ"/>
 
==นักแสดงที่ได้รับบทเป็นพระยม ==
* [[มานพ อัศวเทพ]]
* [[รังสิโรจน์ พันธุ์เพ็ง]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
เส้น 44 ⟶ 49:
{{บุคคลศักดิ์สิทธิ์ในคติพุทธศาสนาแบบจีน}}
 
{{เรียงลำดับ|ยม}}
[[หมวดหมู่:เทพเจ้าแห่งนรก]]
[[หมวดหมู่:เทพเจ้าฮินดู]]
[[หมวดหมู่:เทวดาในศาสนาพุทธ]]
 
{{โครงความเชื่อ}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/พระยม"