ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอ็ลเซ็ท 129 ฮินเดินบวร์ค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2T (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
[[ไฟล์:Hindenburg at lakehurst.jpg|thumb|300px|เรือเหาะฮินเดนบวร์กขณะจอดเทียบฐานจอดที่เลคเฮิร์ทส์ นิวเจอร์ซีย์ สหรัฐ เมื่อ พ.ศ. 2479]]
 
'''ฮินเดนบวร์ก แอลแซดเอลเซท 129''' (มีการสะกดว่า '''ฮินเดนบูร์กนเดนบวร์ก''' และ '''ฮินเดนเบิร์ก'''; ({{lang-ende|LZ 129 Hindenburg}}) เป็นเรือเหาะของ[[ประเทศเยอรมนี|เยอรมนี]]ที่สร้างคู่กับเรือเหาะลำน้องที่ชื่อ [[กราฟ เซปเปลิน 2]] นับเป็นอากาศยานที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยสร้างมา ใช้ช่วงบินให้บริการปีที่ 2 ได้เกิดไฟใหม้ระหว่างแล่นลอยตัวลงจอดที่ฐานทัพเรือเลคเฮิร์สท์ [[รัฐนิวเจอร์ซีย์]] [[สหรัฐอเมริกา]] เมื่อวันที่ [[6 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2480]] มีผู้เสียชีวิต 36 คน นับเป็นเหตุการณ์ที่มีการรายงานโดยสื่อต่างๆ ทั้งภาพยนตร์ ภาพถ่ายและวิทยุกระจายเสียงมากที่สุด
 
เรือเหาะฮินเดนบวร์กได้รับการตั้งชื่อตาม [[พอล ฟอน ฮินเดนบวร์ก]] ([[พ.ศ. 2390]] – [[พ.ศ. 2477]]) ประธานาธิบดีแห่งประเทศเยอรมนีระหว่าง [[พ.ศ. 2468]] – [[พ.ศ. 2477]] ประธานาธิบดีคนสุดท้ายของ[[เยอรมนี]]ที่รับตำแหน่งจากการเลือกตั้งตาม[[ระบอบประชาธิปไตย]] ก่อนที่[[ฮิตเลอร์]]จะครองอำนาจ
 
== การออกแบบและการสร้าง ==
'''เรือเหาะฮินเดนบวร์ก''' สร้างโดยบริษัท “''ลุฟท์ชิฟฟ์บาว เซพเพลิน''?” (Luftschiffbau Zeppelin) เมื่อ [[พ.ศ. 2478]] ยาว 245 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 41 เมตร ยาวกว่าเครื่องบินโดยสาร 747 สามลำมาเรียงต่อกัน แต่เดิมออกแบบโดยใช้ก๊าซฮีเลียมบรรจุ แต่สหรัฐฯ ห้ามส่งออกจึงต้องใช้ก๊าซไฮโดรเจนซึ่งติดไฟได้ตามปกติ ซึ่งต้องใช้ก๊าซบรรจุในลำตัวจำนวน 200,000 ลูกบาศก์เมตรโดยแยกบรรจุเป็น 16 ถุง สร้างแรงยกได้ 123.5 ตัน เรือเหาะพลเรือนของเยอรมันไม่เคยประสบอุบัติเหตุมาก่อนเลย จึงไม่มีผู้เกรงกลัวเท่าใด นอกจากนี้การใช้[[ก๊าซไฮโดรเจน]]ยังเพิ่มแรงยกได้มากกว่า[[ก๊าซฮีเลียม]] 8%
 
เรือเหาะฮินเดนบวร์กใช้เครื่องยนต์ปรับถอยหลังขนาดเครื่องละ 1,200 [[แรงม้า]] จำนวน 4 เครื่อง ทำความเร็วสูงสุดได้ 135 กิโลเมตร/ชั่วโมง สิ้นค่าก่อสร้างในสมัยนั้น 2.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ค่าโดยสารจาก[[ประเทศเยอรมนี]]ถึงเมือง[[เลคเฮิร์ส]] สหรัฐอเมริกา คนละ 400 ดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งนับว่าแพงมากในช่วงเศรษฐกิจตกต่ำในขณะนั้น (มีค่าเท่ากับประมาณ 6,100 เหรียญฯ หรือกว่า 200,000 บาทในปัจจุบัน)