ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จอห์น ซ่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
| name = ดร.จอห์น ซ่ง
| image = John Sung.jpg
| caption = ดร.จอห์น ซ่ง ครั้นเยียมเมืองเยี่ยมเมือง[[ประเทศสิงคโปร์|สิงคโปร์]] ในปี ค.ศ.1935, 1935
| birth_date = 27 กันยายน ค.ศ. 1901
| birth_place = [[มณฑลฝูเจี้ยน]] [[ราชวงศ์ชิง|จักรวรรดิชิง]]
บรรทัด 22:
 
==เบื้องหลังชีวิตของ จอห์น ซ่ง==
จอห์น ซ่ง เกิดเมื่อวันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 1901 ในมณฑล[[มณฑลฝูเจี้ยน|ฟูเกี้ยน]] (Fujjian)ในภาคตะวันออกของจีนบิดาของท่านเป็น[[ศิษยาภิบาล]] หรือครูสอนศาสนาคริสต์ใน[[คริสตจักรเวสเลยันเมทอดิสต์]] (American Wesleyan Methodist Church) จอห์น ซ่ง มีบทบาทช่วยเหลือพ่อในคริสตจักร บางครั้งก็มีโอกาสเทศนาแทนเมื่อบิดาป่วย ซึ่งด้วยบทบาทหน้าที่ดังกล่าวทำให้สมาชิกคริสตจักรเรียกเขาว่า “ศิษยภิบาลตัวน้อย”
 
ในปี ค.ศ. 1920 จอห์น ซ่ง ได้เข้าเรียนในมหาวิทยาลัยโอไฮโอเวสเลยัน (Ohio Wesleyan University ) และต่อมาที่[[มหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตต]] สหรัฐอเมริกา เขาได้จบปริญญาเอกทาง[[เคมี]] เขาเป็นนักศึกษาดีเด่นของมหาวิทยาลัย ซึ่งผลงานการเขียนและค้นคว้าทางเคมียังคงปรากฏอยู่ในทุกวันนี้ในมหาวิทยาลัย แม้จะมีความสามารถสูงและมีโอกาสในการทำงานสูง แต่จอห์น ซ่ง ตัดสินใจทำงานรับใช้พระเยซูคริสต์และการอุทิศตัวเพื่องานของคริสตจักร ดังนั้นในปี ค.ศ. 1926 ได้เข้าศึกษาเทววิทยาใน Union Theological Seminary ใน[[สหรัฐอเมริกา]]
 
==การเปลี่ยนแปลงทางฝ่ายวิญญาณ==
บรรทัด 35:
 
==การเทศนาที่ประเทศไทย==
ในปี ค.ศ. 1938-1939 ท่านได้เดินทางมาเทศนาในเมืองไทย ท่านเดินทางครั้งแรกสู่เมืองไทยในเดือนตุลาคมค.ศ. 1938 ซึ่งคำเทศนาของท่านได้สร้างความประทับใจให้คริสเตียนชาวไทยและชาวจีนในไทย หลายคนกล่าวว่าหากผู้แปลคนใดลังเลใจในเรื่องที่จะแปลท่านจะไล่ลงจากเวทีทันที
ในช่วงเวลานี้ ดร.จอห์น ซ่ง ได้รู้จัก ศาสนาจารย์[[บุญมาก กิตติสาร]] เลขาธิการ[[สภาคริสตจักรในประเทศไทย]] ทั้งสองมีความสนิทสนมกัน ดังนั้นในปี ค.ศ. 1939 ศจ.บุญมาก กิตติสาร ชวน ดร.จอห์น ซ่งกลับมาเมืองไทยอีก ท่านตระเวนเทศนาตามคริสตจักรแบ๊บติสส์และคริสตจักรสาธร อย่างไรก็ตามมีคณะกรรมการบริหารสภาคริสตจักรยังคงสงสัยในความเชื่อทางเทววิทยาของท่าน และมองว่าการฟื้นฟูที่เน้นอารมณ์ร่วมนี้ไม่เหมาะสมกับคริสตจักรในประเทศไทย ก่อให้เกิดความแตกแยกของมิชชันนารีในสังกัด[[คณะอเมริกันเพรสไบทีเรียน]] (American Presbyterian Mission) คือ กลุ่มอนุรักษนิยมและกลุ่มหัวสมัยใหม อย่างไรก็ตามการฟื้นฟูที่เกิดขึ้นก็ทำให้คริสตจักรไทย (โดยเฉพาะคริสตจักรจีนในไทย) มีการเคลื่อนไหวและได้เพิ่มจำนวนสมาชิกในช่วงนั้น ชาวคริสเตียนส่วนหนึ่งเชื่อว่าการมาของ ดร.จอห์น ซ่ง ได้นำรูปแบบคาริสเมติกเข้ามาในคริสตจักรไทยและเป็นการวางพื้นฐานเพื่อการก่อตั้งและขยายกลุ่มคณะเพ็นเทคอสตอลในภายหลัง