ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประธานาธิบดีสหภาพโซเวียต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ควรเขียนเป็นบทความอื่น
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
ตำแหน่งประธานาธิบดีเป็นตำแหน่งบริหาร โดยยึดตามระบบประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกาและฝรั่งเศสผสมกัน
 
ก่อนหน้าการสถาปนาตำแหน่งประธานาธิบดี ประมุขแห่งรัฐสหภาพโซเวียตโดยนิตินัยคือ ประธานคณะผู้บริหารสูงสุดของสภาโซเวียตสูงสุด (Presidium of the Supreme Soviet) ซึ่งสื่อนอกโซเวียตมักเรียกว่า "ประธานาธฺบดีประธานาธิบดี" ทว่าเกือบระยะเวลาของสหภาพโซเวียต อำนาจการเมืองฝ่ายบริหารที่มีผลทั้งหมดอยู่ในมือของเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์สหภาพโซเวียต โดยประธานคณะผู้บริหารสูงสุดใช้อำนาจในหน้าที่เชิงสัญลักษณ์และแต่ในนามเป็นส่วนมาก เลขาธิการพรรคสี่คนสุดท้ายตั้งแต่ปี 2520 [[เลโอนิด เบรจเนฟ]], [[ยูริ อันโดรปอฟ]], [[คอนสตันติน เชียร์เนนโค]]และกอร์บาชอฟดำรงตำแหน่งเป็นประมุขแห่งรัฐโดยนิตินัยร่วมกับเลขาธิการพรรคระหว่างสมัยดำรงตำแหน่งด้วย
 
เดิมประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้งโดยสภาประชาชน (Congress of People's Deputies)<ref>[http://constitution.garant.ru/history/ussr-rsfsr/1977/zakony/185465/#300 Soviet Law from 14 March 1990 N 1360-I "On establishment of the Presidency of the Soviet Union and amendments and additions to the Constitution (Basic Law) of the Soviet Union". Article III]</ref> และประธานาธิบดีเป็นประธานของสภาดังกล่าวโดยตำแหน่ง ทว่าการเลือกตั้งครั้งถัดมาทั้งหมดมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน<ref name="Const">[http://constitution.garant.ru/history/ussr-rsfsr/1977/red_1977/1549448/chapter/16/#1510 1977 Soviet Constitution with amendments of 1989—1990. Chapter 15.1: President of the Soviet Union]</ref>