ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาคำฟั่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "พระยา" → "เจ้า" +แทนที่ "เจ้าคำฟั่น" → "เจ้าหลวงคำฟั่น" ด้วยสจห.
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "เศรษฐีคำฝั้น" → "คำฝั้น" +แทนที่ "คำฟั่น" → "คำฟั้น" ด้วยสจห.
บรรทัด 20:
}}
 
'''เจ้าหลวงคำฟั่นฟั้น''' หรือที่รู้จักกันในเหล่าราษฎรว่า '''เจ้าหลวงเศรษฐี''' มีพระนามเต็มว่า '''เจ้ามหาสุภัทรราชะ'''<ref name=chiangmainews>[http://www.chiangmainews.co.th/chaingmai/comefun.html พระญาคำฝั้น เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ 3]</ref> ทรงเป็น[[เจ้าผู้ครองนครลำพูน]]องค์ที่ 1 <ref>http://hrilamphun.com/lam_4.htm</ref> ระหว่างปี พ.ศ. 2357 - พ.ศ. 2358 และ[[เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่]]องค์ที่ 3 ระหว่างปี พ.ศ. 2365 - พ.ศ. 2368 แห่ง[[ราชวงศ์ทิพย์จักร]]
 
== พระราชประวัติ ==
'''เจ้าหลวงคำฟั่นฟั้น''' เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 8 ใน[[เจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว]] ผู้ครองนครลำปางองค์ที่ 2 กับ แม่เจ้าจันทาราชเทวี และเป็นพระราชนัดดา (หลานปู่) ใน[[เจ้าไชยสงคราม (ทิพย์ช้าง)]] กับ แม่เจ้าพิมพาราชเทวี ซึ่งเป็นองค์ปฐมวงศ์ "ราชวงศ์ทิพย์จักร" (เชื้อเจ้าเจ็ดตน)
เจ้าหลวงคำฟั่นฟั้น เป็นพระอนุชาของ[[พระเจ้ากาวิละ]] มีพระเชษฏา พระอนุชาและพระขนิษฐา รวม 10 พระองค์ (หญิง 3 ชาย 7) (เจ้าชายทั้ง 7 พระองค์ได้ทรงช่วยกันต่อสู้อริราชศัตรูขยายขอบขัณฑสีมาล้านนาออกไปอย่างเกรียงไกร เป็นเหตุให้มีพระสมัญญาว่า "เจ้าเจ็ดตน") มีพระนามตามลำดับ ดังนี้
 
* [[พระเจ้ากาวิละ]] พระเจ้านครเชียงใหม่ พระองค์ที่ 1 (นับเป็น "เจ้านครลำปาง องค์ที่ 3" ในราชวงศ์ทิพย์จักร
บรรทัด 123:
 
== การครองนครเชียงใหม่ ==
เมื่อเจ้าหลวงเศรษฐีคำฝั้น ครองเมืองเชียงใหม่ ได้เกิดการทะเลาะวิวาทกับเจ้าราชวงศ์สุวัณคำมูน ทำให้บรรดาขุนนางได้ไปเชิญ[[พระเจ้าดวงทิพย์|เจ้าดวงทิพย์]] และ[[พระเจ้าลำพูนไชย|เจ้าบุญมา]] มาประนีประนอมการวิวาทครั้งนี้ โดยแนะนำให้เจ้าคำฝั้น เสด็จออกผนวช[[วัดเชียงมั่น]] แล้วไปจำพรรษาที่[[วัดสวนดอก (พระอารามหลวง)|วัดสวนดอก]] จากนั้นได้มีการปล่อยรถม้าเสี่ยงทายหาเจ้าหลวงองค์ใหม่ แต่รถม้าดังกล่าวกลับมาหยุดอยู่ที่บริเวณหน้าวัดสวนดอก ซึ่งเป็นที่ประทับของเจ้าคำฝั้น เหลาบรรดาเจ้านาย และขุนนางจึงได้อัญเชิญเจ้าคำฝั้น ให้ลาสิขาบทกลับมาเป็นเจ้าหลวงเชียงใหม่อีกครั้ง<ref name=chiangmainews/>
 
ในช่วงรัชกาลของเจ้าหลวงเศรษฐีคำฝั้น เป็นช่วงเวลาที่[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] เสด็จสวรรคต และกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ได้ขึ้นครองราชสมบัติเป็นรัชกาลที่ 3 แห่งราชวศ์จักรี ทรงพระนามว่า "[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]" ใน พ.ศ. 2367 และเจ้าหลวงฯ ประชวรในขณะที่ส่ง[[เจ้าพุทธวงศ์|เจ้าอุปราชพุทธวงศ์]]และเจ้านายบางส่วนไปเฝ้ารัชกาลที่ 3 เมื่อล้นเกล้ารัชกาลที่ 3 ทรงทราบถึงอาการเจ็บป่วย จึงได้จัดส่งแพทย์หลวงมารักษาแต่อาการก็ไม่ดีขึ้น จนถึงวันอาทิตย์ เดือนห้า แรม 11 ค่ำ ในเวลาบ่าย เจ้าคำฝั้นก็ถึงแก่พิราลัย ในจุลศักราช 1186 (ตรงกับวันที่ [[13 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2368]]) สิริอายุรวม 69 ปี และเจ้าอุปราชพุทธวงศ์ ขึ้นเป็นเจ้าหลวงองค์ที่ 4 โดยมีเจ้าหนานมหาวงศ์ บุตร[[เจ้าธรรมลังกา]]เป็นเจ้าอุปราช และเจ้าน้อยมหาพรหม บุตรเจ้าคำฝั้น เป็นเจ้าราชวงศ์เชียงใหม่สืบไป<ref name=chiangmainews/>
 
== อ้างอิง ==