ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาลโยค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Char (คุย | ส่วนร่วม)
ปลดป้ายต้องการอ้างอิง+อ้างอิงสมบูรณ์แล้ว+ปรับแก้เนื้อหาเล็กน้อย
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กาลโยคปีนี้}}
'''กาลโยค''' หมายถึง การกำหนดว่ากาลใดดี กาลใดร้ายเพื่อการใช้ประโยชน์จากกาล (เวลา) กาลโยคมาจากคำว่า กาล (เวลา) และโยคะ (การประกอบ,การใช้งาน,การร่วมกัน) ในปฏิทินไทย กาลโยคคือตารางที่บ่งบอกให้ทราบว่าช่วงเวลาใดดี ช่วงเวลาใดร้าย เพื่อประกอบการพิจารณาหาฤกษ์กระทำการมงคล เช่น เปิดห้างร้าน หว่านข้าวลงในนา สถาปนายศศักดิ์ ฯลฯ กาลโยคประกอบด้วยแบ่งได้เป็นสี่ส่วน คือ ธงชัย (บางที่เขียน ธงไชย) และอธิบดี มีหมายความทางดี ซึ่งตรงกันข้ามกับอุบาทว์ และโลกาวินาศ (บางที่เขียนโลกาวินาสน์)ซึ่งมีความหมายทางร้าย และสี่ส่วนเหล่านี้จะนำไปประกอบกับช่วงเวลา 5 ช่วง ได้แก่ [[วัน]] [[ยาม]] [[ฤกษ์]] [[ราศี]] [[ดิถี]] เพื่อใช้พิจารณาต่อไป
'''กาลโยค''' พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 นิยามว่า "การกำหนด วัน ยาม ฤกษ์ ราศี ดิถี ของแต่ละปี เป็น ธงชัย อธิบดี อุบาทว์ โลกาวินาศ" จากความหมายดังกล่าว ทำให้กาลโยคมีบทบาทสำคัญในการหาฤกษ์ยามทำการมงคล{{โปรดเรียบเรียงใหม่}}
 
ในปฏิทินไทย กาลโยคคือตารางที่บ่งบอกให้ทราบว่าช่วงเวลาใดดี ช่วงเวลาใดร้าย เพื่อประกอบการพิจารณาหาฤกษ์กระทำการมงคล เช่น เปิดห้างร้าน หว่านข้าวลงในนา สถาปนายศศักดิ์ ฯลฯ กาลโยคประกอบด้วยสี่ส่วน คือ ธงชัย (บางที่เขียน ธงไชย) อธิบดี อุบาทว์ โลกาวินาศ (บางที่เขียนโลกาวินาสน์) และสี่ส่วนเหล่านี้จะนำไปประกอบกับช่วงเวลา 5 ช่วง ได้แก่ [[วัน]] [[ยาม]] [[ฤกษ์]] [[ราศี]] [[ดิถี]] เพื่อใช้พิจารณาต่อไป
 
ธงชัย และอธิบดี มีหมายความทางดี ซึ่งตรงกันข้ามกับอุบาทว์ และโลกาวินาศ
== กาลโยคคืออะไร ==
กาลโยค ในปฏิทินนิยมเขียนเป็นตารางขนาดสี่คูณห้า แต่ละช่องจะบรรจุตัวเลขแทนช่วงเวลาที่กำหนดว่าดีหรือร้าย ยกตัวอย่างเช่น หากวันดีวันร้ายในปีนั้นกำหนดไว้ว่า
เมื่อมองอย่างผิวเผิน กาลโยคเป็นเพียงตารางมีตัวเลขบรรจุอยู่ ดังรูปแบบข้างล่างนี้
{|class="wikitable" style="width:200px, height:150px, text-align:center"
| || ธงชัย || อธิบดี || อุบาทว์ || โลกาวินาศ
|-
| วัน || || || ||
|-
| ยาม || || || ||
|-
| ฤกษ์ || || || ||
|-
| ราศี || || || ||
|-
| ดิถี || || || ||
|}
 
กาลโยคมีความสำคัญมากใน[[โหราศาสตร์ไทย]] ซึ่งบางทีมักพิมพ์ในลักษณะตัดทอนจากตารางเดิม เพื่อให้ใช้ง่ายขึ้น ดังตัวอย่าง
 
{{คำพูด|วันจันทร์ ธงชัย วันพุธ อธิบดี วันอังคาร อุบาทว์ วันเสาร์ โลกาวินาศ}}
ก็จะสามารถเขียนอย่างย่อ ๆ ลงเป็นตาราง ดังตาราง
 
ขณะที่ตารางต้นฉบับเดิมที่นำมาเขียนเป็นสรุปข้างต้น เป็นดังนี้
 
{|class="wikitable" style="width:200px, height:150px, text-align:center"
| || ธงชัย || อธิบดี || อุบาทว์ || โลกาวินาศ
เส้น 33 ⟶ 11:
| วัน || 2 || 4 || 3 || 7
|}
โดยที่ตัวเลข 1 2 3 ,..., 7 แทนวันอาทิตย์ วันจันทร์ วันอังคาร ไปจนถึงวันเสาร์ สำหรับการกำหนดเวลาในลักษณะอื่นเช่น ยาม ฤกษ์ ราศี ดิถี ก็สามารถทำได้ในทำนองเดียวกัน
 
== การคำนวณกาลโยค ==
การคำนวณกาลโยค ทำได้ง่ายมาก นั่นคือ มีเพียงจุลศักราช นำมาบวกลบคูณหารตามตำราได้เป็นเกณฑ์ แล้วนำไปหารจำนวนช่วงในช่วงเวลาที่ต้องการหา
เส้น 137 ⟶ 115:
* [[พระเสาร์]]
* [[ดิถี]]
* [[ดาวนักขัตฤกษ์]]
 
== อ้างอิง ==
{{เริ่มอ้างอิง}}
* ทองเจือ อ่างแก้ว. ปฏิทินโหราศาสตร์ไทย พ.ศ. 2554 - 2563. กรุงเทพฯ: เกษมบรรณกิจ, 2554. (มีกาลโยคของทุกปี)
* ทองย้อย แสงสินชัย, นาวาเอก. พฤศจิกายน 2547. "การอ่านกาลโยค." นาวิกศาสตร์. เข้าถึงได้จาก http://www.navy.mi.th/navic/document/881009a.html (วันที่ค้นข้อมูล : 20 มีนาคม 2550)
* สิงห์โต สุริยาอารักษ์. เรื่องฤกษ์และการให้ฤกษ์ ดวงพิชัยสงคราม. กรุงเทพฯ:เกษมบรรณกิจ, ม.ป.ป. (ดูส่วน ฤกษ์และการให้ฤกษ์ (ส่วนต้นของหนังสือ))
* อุระคินทร์ วิริยะบูรณะ และคณะ.พรหมชาติ ฉบับหลวง. กรุงเทพฯ:สำนักงาน ลูก ส.ธรรมภักดี, ม.ป.ป.
* [http://www.mahamodo.com/modo/astrology/astrology2.htm บทความ 'คัมภีร์กาลโยค' โดยมหาหมอดูดอตคอม] (วันที่ค้นข้อมูล : 20 มีนาคม 2550)
{{จบอ้างอิง}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กาลโยค"