ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นายทองสุก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
ในพระราชพงศาวดารและ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ได้กล่าวตรงกันถึงการปฏิบัติต่อ[[พระเจ้าเอกทัศ]]อย่างกษัตริย์ ถึงขนาดทูลสัญญาว่าจะ "สถาปนากลับขึ้นเป็นกษัตริย์ของสยาม" ซึ่ง [[นิธิ เอียวศรีวงศ์]] อธิบายว่า นายทองสุกหวังจะตั้งตัวเป็นใหญ่ในอาณาจักรอยุธยา โดยอาศัยอดีตพระมหากษัตริย์เป็นเครื่องมือทางการเมือง จึงถือได้ว่า นายทองสุกมีความคิดที่จะรื้อฟื้นอาณาจักรอยุธยา<ref>นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2540). '''การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี'''. สำนักพิมพ์มติชน. หน้า 140-141</ref>
 
=== หลังจากการรบที่ค่ายโพธิ์สามต้น ===
 
หลังจากการรบที่ค่ายโพธิ์สามต้น
 
 
หลักฐานเกี่ยวกับชะตากรรมของนายทองสุกอันเป็นที่รู้จักกันดี คือ นายทองสุกสิ้นชีวิตในที่รบ ณ ค่ายโพธิ์สามต้น ซึ่ง นิธิ เอียวศรีวงศ์ มีความเห็นว่า เป็นแนวคิดที่ต่อยอดมาจากแนวคิดของพระวนรัตน์ ซึ่งกล่าวว่า นายทองสุกเกรงเจ้าตากหนีไป และถูกฆ่าเสียในภายหลัง จนกลายเป็นแนวคิดในพระราชพงศาวดารซึ่งชำระหลังพระราชพงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศเป็นต้นมา<ref>นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2540). '''การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี'''. สำนักพิมพ์มติชน. หน้า 141-142</ref>